สถานที่ประสูติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าถูกมลพิษจากเสียงและอุตสาหกรรมหนัก
อึ้ง!แค่กินก๋วยเตี๋ยว"ราดหน้า" แต่กลับต้องเสี่ยงโรคมะเร็งตับ-ผิวหนัง
การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน
คำถาม : การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน หลังจากที่เสียชีวิตมีความแตกต่างกันอย่างไรค่ะ
อานิสงส์การเป็นศรีภรรยาที่ดี
แม่น้ำเป็นที่อยู่แห่งฝูงปลา ย่อมหลั่งไหลไปสู่สาครท้องทะเลหลวง ซึ่งจะประมาณมิได้ มีสิ่งที่น่ากลัวอาศัยอยู่มาก และเป็นที่อยู่แห่งรัตนะหลายชนิด ฉันใด ห้วงบุญย่อมหลั่งไหลไปสู่นรชนผู้เป็นบัณฑิต ให้ข้าว น้ำ เครื่องนุ่งห่ม ที่นอน ที่นั่ง เครื่องปูลาด เหมือนห้วงน้ำหลั่งไหลเข้าไปสู่สาคร ฉันนั้น
จาตุมหาราชิกา
ดูก่อนสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ยังมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลของทาน ให้ทานด้วยคิดว่า เราตายไปจักได้เสวยผลทานนี้ เขาให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีปและเครื่องบริโภค แก่สมณะหรือพราหมณ์ ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดาชั้นจาตุมหาราชิกา
บทสรุปของสวรรค์ทั้ง 6 ชั้น
สวรรค์แต่ละชั้นมีความแตกต่างกันตามกำลังแห่งบุญที่ตนได้สั่งสมไว้ครั้งเป็น มนุษย์ ยิ่งสวรรค์ชั้นที่สูงขึ้นไปมากเท่าไร ยิ่งมีทิพยสมบัติอันวิจิตรอลังการมากขึ้นไปเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
โอกาสสุดท้ายสร้างองค์พระธรรมกายประจำตัว
โอกาสสุดท้ายสร้างองค์พระธรรมกายประจำตัวประดิษฐาน ณ มหาธรรมกายเจดีย์ ด้วยพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีอานุภาพไม่มีประมาณ วัตถุธาตุใดๆ ในโลกไม่ว่าจะเป็นไม้ ดิน หินศิลา หรือโลหะ แม้จะมีมูลค่าเพียงน้อยนิด หากนำมาทำเป็นสื่อเชื่อมใจถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแม้เอาโคตรเพชรที่เลิศด้วยมูลค่ามาอุปมา ก็ไม่อาจเทียบได้เพียงแค่เศษเสี้ยวแห่งคุณค่าของวัตถุธาตุนั้นๆ ได้เลย ในโอกาสนี้จึงขอเชิญชวนทุกท่านมาร่วมกันสร้างพระธรรมกายประจำตัวจารึกชื่อ
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๕ ( สัตตสตกมหาทาน )
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า การตายร่วมกับพระองค์เท่านั้นเป็นสิ่งประเสริฐกว่าการพลัดพรากจากพระองค์ แม้นางช้างพังยังติดตามช้างพลายในป่า อาศัยตามภูผาทางกันดาร ฉันใด หม่อมฉันจะพาบุตรและบุตรีตามเสด็จ ฉันนั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์