พิธีทรงตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค เขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระสังฆราช เสด็จไปทรงประกอบพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค แก่พระภิกษุสามเณรที่สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ในเขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร ประจำปีพุทธศักราช 2563
ขอเชิญรับบุญด้านปัญญาด้วยการพิมพ์ข้อมูลภาษาบาลี
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย จัดพิธีเปิดนิทรรศการหลักฐานธรรมกาย
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย สำนักพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีเปิดนิทรรศการหลักฐานธรรมกาย ณ มหารัตนวิหารคด 32 วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) จัดพิธีเปิดศูนย์คานธารีศึกษา
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) สำนักพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีเปิดศูนย์คานธารีศึกษา
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - สละชีวิตเพื่อฟังธรรม
พระฤๅษีจึงตอบว่า ถ้าเรายังดำรงอยู่ในราชสมบัติ เราจะบูชาธรรมท่านด้วยทรัพย์สมบัติ แก้วแหวนเงินทองเป็นอันมาก และจะยกราชสมบัติทั้งหมดพร้อมด้วยเศวตฉัตรให้ท่าน แต่บัดนี้เราเป็นนักบวชเหลือแต่เพียงร่างกาย และผ้าคลุมกายนี้เท่านั้น เรามีชีวิตเลือดเนื้อเป็นสมบัติ ถ้าหากท่านปรารถนา เราจะบูชาธรรมด้วยชีวิตนี้แหละ
พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย...ก้าวไกลสู่เวทีโลก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ สืบทอดผ่านการสวดทรงจำโดยเหล่าพุทธสาวก และจารจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกลงในคัมภีร์ใบลาน เมื่อครั้งกระทำสังคายนา ครั้งที่ 5 ราว ๆ ปี พ.ศ. 400 เศษ ณ อาโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา
คัมภีร์แห่งกษัตริย์...สมบัติแห่งแผ่นดิน
คัมภีร์ใบลานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง รวมถึงคัมภีร์ที่พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางชั้นผู้ใหญ่สร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับหลวง หรือฉบับของหลวง ส่วนคัมภีร์ใบลานที่พระภิกษุสงฆ์หรือราษฎรสร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับราษฎร์ หรือ ฉบับเชลยศักดิ์
คัมภีร์ใบลาน ขุมทรัพย์ทางปัญญาของชาวพุทธ
ทีมงานโครงการพระไตรปิฎกวัดพระธรรมกาย จึงนำคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในอดีต มาเชื่อมต่อกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลกยุคปัจจุบัน เพื่อสานต่อไปยังอนาคต ด้วยการใช้กล้องคุณภาพสูงบันทึกหน้าคัมภีร์ใบลานเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เพื่อทำสำเนาสำรองเก็บรักษาเอกสารต้นฉบับ ทำให้ผู้สนใจสามารถศึกษาจากไฟล์ภาพโดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงคัมภีร์ต้นฉบับโดยตรง