หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๓)
ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนเล่าย้อนไปถึงพันธกิจที่สำคัญเกี่ยวกับการเดินทางไปเยี่ยมเยียนให้กำลังใจทีมงานนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
ขอเชิญร่วมฟังเสวนา "หลักฐานวิชชาธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ ครั้งที่ 2"
ขอเชิญกัลยาณมิตรลูกพระธัมฯทุกท่านเข้าร่วมฟังเสวนา "หลักฐานวิชชาธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ ครั้งที่ 2" ในวันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม 2558 ตั้งแต่เวลา 8.00-18.00 น. ณ ห้องแก้วสารพัดนึก สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
เซ็งกดขี่วรรณะตลอดชาติ จัณฑาลแห่เปลี่ยนถือ "พุทธ"