คุณสมบัติของผู้บวชในพระพุทธศาสนา
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีโครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสที่เหล่ากุลบุตรจะได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะและปฏิบัติธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเพื่อการเป็นพุทธบริษัท ๔ ที่ดี
โครงการบวชพระเข้าพรรษา ปี 2566
โครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ รุ่นเข้าพรรษา ประจำปีพุทธศักราช 2566 อบรมระหว่างวันที่ 9 กรกฎาคม - 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
พิธีบรรพชาและอุปสมบท โครงการอุปสมบท 140 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
พิธีบรรพชาและอุปสมบท โครงการอุปสมบทหมู่บูชาธรรม 140 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม 2567 เวลา 06.00 น ณ โบสถ์พระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 70 ธรรมสโมธาน การประมวลรวมกันแห่งธรรม (3)
ธรรมสโมธาน เป็นธรรมอันสำคัญยิ่งที่จะยืนยันว่าพระโพธิสัตว์จะได้รับพุทธพยากรณ์เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต
กิจกรรมมัชฌิมธรรมทายาท วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนีย
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม 2554 ที่ผ่านมา ผู้มีบุญวัดพระธรรมกาย ดี.ซี ได้ร่วมงานบุญใหญ่กันอย่างเบิกบาน
โครงการบรรพชาเเละอุปสมบทหมู่วันคุ้มครองโลก 2563
โครงการบรรพชาเเละอุปสมบทหมู่วันคุ้มครองโลก 2563 อบรมระหว่างวันที่ 22 มีนาคม - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ณ หมู่บ้านบรรลุธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
โครงการบรรพชาสามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย 2-16 ธันวาคม พ.ศ.2567
โครงการบรรพชา สามเณร 500 รูป ที่ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 2-16 ธันวาคม 2567 เพื่อบูชาธรรม 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย และฉลอง 25 ปี งานพระธรรมทูตในอินเดีย
พิธีบรรพชาอุปสมบท โครงการอุปสมบทบูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์ ประจำปีพุทธศักราช 2567
พิธีบรรพชาอุปสมบท ประจำปี 2567 ณ วัดพระธรรมกาย โดยพระครูปลัดรัตนวีรวัฒน์ เปิดเริ่มตั้งแต่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2567 จนถึง 10 ธันวาคม พ.ศ.2567 พร้อมกำหนดการพิธีและกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ
มหาทุคตะ (ยุคปัจจุบัน)
ลูกพระธัมฯกล่าวว่า ไม่ได้คิดจะอยากได้เงิน 1รูปีหรือสิ่งของอะไรสักอย่าง จากพวกเขาเหล่านี้เลย แต่อยากช่วยเขาได้หลุดพ้นจากความยากจน เด็กเหล่านี้เกิดมาก็รู้จักแต่การ “ขอ” อย่างเดียว อย่างน้อยในวันนี้หัวใจเขาได้เริ่มรู้จักคำว่า “ให้” แล้ว
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 19
นารทดาบสต้องการให้พระโพธิสัตว์สมาทานมั่น จึงถวายข้อคิดว่า “พระองค์ เพียงแต่ทรงเพศบรรพชิตนี้ จะสำคัญว่า เราข้ามพ้นกิเลสแล้วหาได้ไม่ กรรมคือกิเลสนี้ ไม่ใช่ว่าจะพึงข้ามได้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพราะยังมีอันตรายอยู่มาก”