ทำทุกอิริยาบถ
หยุดเท่านั้นจึงเป็นตัวสำเร็จ ที่ทำให้เข้าถึงพระธรรมกายในตัวได้อย่างอื่นไม่สำเร็จ หยุดอย่างเดียว ไม่ต้องทำอะไรที่นอกเหนือจากนี้
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๖)
การประพฤติปฏิบัติธรรมด้วยการหมั่นทำใจหยุดใจนิ่งนี้จะนำความสุข และความบริสุทธิ์ให้บังเกิดขึ้นในชีวิต
เศษกรรมนำให้เป็นสัตว์ดิรัจฉาน
ชีวิตของสัตว์เดียรัจฉานเป็นชีวิตที่ทุกข์ทรมาน น่าสงสาร หาความสุขได้ยาก ที่เป็นผลเช่นนี้ ก็เพราะผลแห่งกรรมชั่วที่ตนกระทำไว้ในอดีตทั้งสิ้น
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - ยอดนารีั ศรีภรรยา
การจะใช้ชีวิตคู่ให้ยั่งยืนจนตลอดชีวิตและมีความสุข ตามอัตภาพได้นั้น ภรรยาจำเป็นต้องรู้จักวิธีครองใจสามี จะประพฤติตามใจตัวเองไม่ได้ การอยู่ร่วมกันจึงเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสังคมใหม่ และเริ่มสร้างครอบครัวใหม่ที่ไม่มีพ่อแม่มาคอยดูแลเราอีกต่อไป เราจะต้องดูแลตนเอง สามี พ่อแม่ของสามี ดูแลลูกๆ และหมู่ญาติรวมถึงบริวารอีกมากมาย เพราะฉะนั้น ภรรยาที่ดีจึงต้องศึกษาธรรมะที่จะช่วยประคับประคอง และทำให้ชีวิตคู่ราบรื่น โดยเริ่มต้นที่ตนเองก่อน
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(6)
ชนเหล่าใด เมื่อยังอยู่ในมนุษยโลก เป็นผู้มีกำลังวังชา มีกรรมอันเป็นบาป ย่อมเบียดเบียนด่าว่าผู้อื่นซึ่งหากำลังมิได้ ชนเหล่านั้นมีกรรมหยาบช้า กระทำบาปกรรม จึงตกลงสู่เวตรณีนรก
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - สักการะรอยพระพุทธบาท
ผลแห่งบุญนี้ น่าอัศจรรย์เหลือเกิน เราได้เห็นรอยพระบาทที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ติสสะ ทรงประทับรอยไว้ เป็นผู้มีใจร่าเริงโสมนัส ยังจิตให้เลื่อมใสในรอยพระบาท ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราไม่เคยไปสู่สุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการสักการะรอยพระพุทธบาท
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - แรงบันดาลใจ ( ๑ )
พระราชาทรงมองดูลำต้น พลางดำริว่า ต้น มะม่วงต้นนี้ เมื่อเช้านี้เอง ยังเต็มไปด้วยผล เป็นพวงสวยงาม ทำความอิ่มตาเบิกบานใจให้แก่ผู้พบ เห็นที่ผ่านมาผ่านไป มาบัดนี้ ถูกเก็บผลหมดแล้ว มีกิ่งหักห้อยรุ่งริ่งดูไม่งาม แม้เราก็ควรเป็นเหมือนต้นไม้ที่ไม่มีผล พระองค์ทรงกำหนดไตรลักษณ์เช่นนี้ ทรงเจริญวิปัสสนา จนได้บรรลุปัจเจกโพธิญาณ