จดหมายจากครูชายแดนภาคใต้
ลูกชื่อ พนมมาศ ผลแรก เป็นครูโรงเรียนเทศบาล 6 (ถนนโคกเคียน) สังกัดเทศบาลเมืองนราธิวาส อ.เมือง จ.นราธิวาส ลูกเป็นครู มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ปฏิบัติหน้าที่ครูมากว่า 20 ปี จากการปฏิบัติหน้าที่หลายองค์กร ไม่ว่าจะเป็นครูโรงเรียนเอกชน หรือ การใช้ชีวิตผูกพันกับนักเรียนชนบท ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม (โรงเรียนปอเนาะ) และปัจจุบันปฏิบัติหน้าที่ครูในสังกัดสำนักการศึกษาเทศบาลเมืองนราธิวาส รู้และเข้าใจวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของประชาชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ดียิ่งนัก ที่ผ่านมาเคยอยู่อย่างอบอุ่น มีความเข้าใจ ช่วยเหลือเกื้อกูลไม่ว่าจะเป็นพุทธ หรือ มุสลิม แต่พอเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึ้น ความรู้สึกหวาดกลัว กังวลใจ กับสถานการณ์เหล่านั้นก็มากขึ้น คิดว่าสักวันหนึ่ง ครูผู้โชคร้ายคนนั้น ก็คงเป็นเรา เพราะเพื่อนเราหลายคนก็จากเราไปด้วยเหตุการณ์ร้ายเหล่านั้น ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร ได้แต่ปลอบและให้กำลังใจตนเอง ถ้าอะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด คงเป็นเวรกรรมของเรา แต่สิ่งหนึ่งที่ย้ำกับตนเองตลอดเวลาว่า ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็จะไม่ขอย้ายไปจากที่นี่ เพราะที่นี่ก็คือบ้านเกิดเมืองนอนของเรา บรรพบุรุษของเราอยู่ที่นี่ ถ้าจะต้องตายก็ขอให้ผืนแผ่นดินตรงนี้ได้กลบหน้าเรา
ช่วงเด่นฝันในฝันทำทุกอิริยาบถ
หยุดเท่านั้นจึงเป็นตัวสำเร็จ ที่ทำให้เข้าถึงพระธรรมกายในตัวได้อย่างอื่นไม่สำเร็จ หยุดอย่างเดียว ไม่ต้องทำอะไรที่นอกเหนือจากนี้
บางสิ่งที่แสวงหามโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
ธรรมะเพื่อประชาชนเนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๖)
การประพฤติปฏิบัติธรรมด้วยการหมั่นทำใจหยุดใจนิ่งนี้จะนำความสุข และความบริสุทธิ์ให้บังเกิดขึ้นในชีวิต
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น
ธรรมะเพื่อประชาชนสมณะแท้ คือผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย
บุคคลเหล่านี้คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงกันได้ ๘ บุรุษ คือพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ที่ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ควรแก่การรับทักษิณาทาน เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี และเป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง ในพระสงฆ์หมู่ นั้น
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - ยอดนารีั ศรีภรรยา
การจะใช้ชีวิตคู่ให้ยั่งยืนจนตลอดชีวิตและมีความสุข ตามอัตภาพได้นั้น ภรรยาจำเป็นต้องรู้จักวิธีครองใจสามี จะประพฤติตามใจตัวเองไม่ได้ การอยู่ร่วมกันจึงเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสังคมใหม่ และเริ่มสร้างครอบครัวใหม่ที่ไม่มีพ่อแม่มาคอยดูแลเราอีกต่อไป เราจะต้องดูแลตนเอง สามี พ่อแม่ของสามี ดูแลลูกๆ และหมู่ญาติรวมถึงบริวารอีกมากมาย เพราะฉะนั้น ภรรยาที่ดีจึงต้องศึกษาธรรมะที่จะช่วยประคับประคอง และทำให้ชีวิตคู่ราบรื่น โดยเริ่มต้นที่ตนเองก่อน
ธรรมะเพื่อประชาชนเนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(6)
ชนเหล่าใด เมื่อยังอยู่ในมนุษยโลก เป็นผู้มีกำลังวังชา มีกรรมอันเป็นบาป ย่อมเบียดเบียนด่าว่าผู้อื่นซึ่งหากำลังมิได้ ชนเหล่านั้นมีกรรมหยาบช้า กระทำบาปกรรม จึงตกลงสู่เวตรณีนรก
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
ธรรมะเพื่อประชาชน