ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
อธิบดีกรมการศาสนาพุทธ ประเทศอินโดนีเซีย ร่วมงาน V-Star
อธิบดีกรมการศาสนาพุทธ ประเทศอินโดนีเซีย พร้อมคณะได้เดินทางมาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย และร่วมงานเด็กดี V-Star ผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก ครั้งที่ 9
ไทยเร่งทำที่ทำงาน-สาธารณะ ให้เป็นที่ปลอดบุหรี่100%
งาน ซานโฮเซ ไทยเฟสทิวอล San Jose Thai Festival 2010
ในวันเสาร์ที่ 24 และอาทิตย์ที่ 25 กรกฎาคม 2553 วัดภาวนาซานโฮเซ
งาน กฐินล้านนา มหากาลทาน
กฐินล้านนา มหากาลทาน ร่วมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรมของชาวล้านนาในมหากาลทาน ประจำปีพุทธศักราช 2553 ณ ธุดงคสถานล้านนา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมทอดกฐินสามัคคี เปิดป้ายมงคลเศรษฐี
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
บุกห้องทำงาน ซิคเว่ เบรคเก้ เมื่อ "งาน" กับ "พักผ่อน" กลายเป็นเรื่องเดียวกัน