ชีวิตสุดขั้ว เกลียดวัดสุดขีด
" ไม่ชอบวัดนี้เลย..!! พระที่นี่เป็นอยู่สบาย..อยู่กันบนคอนโด แถมทำบุญวัดนี้ ยังต้องแย่งกันเข้าแถวทำบุญ อีกทั้งยังต้องทำบุญที่ละเยอะๆ"
บันทึกการเดินทางของใจที่ “นิ่ง” แท้
“วัตถุทรงกลม” ไม่ว่าจะเป็นดวงจันทร์, ดวงอาทิตย์ หรือว่าดวงแก้วกลมใส ทำให้สมาธิก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ใจผมสอดเข้าไปในดวงจันทร์นั้น แล้วเคลื่อนผ่านฐานที่ตั้งทั้ง7 ครั้นใจเคลื่อนครบ...จบ ณ ฐานที่7 ใจก็ตั้งมั่นที่ดินแดนของ Middle Way อย่างง่ายดาย โดยที่ก่อนหน้านี้ สมองผมดื้อรั้น อย่างไรมันก็ไม่ยอมสั่ง ไม่ยอมมองลงมาที่กลางกายเลย แต่ ณ ฐานที่7 ดวงกลมที่เป็นดวงจันทร์ ขยายออกไปเร็วมาก จนกระทั่ง “หาเส้นรอบวงไม่ได้” มันใหญ่โตมาก มีความสุขมาก
เส้นทางของการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
จากวันนั้นถึงวันนี้ วันเวลาผ่านไปแล้วกว่า 26ปี วันวิสาขบูชา ปี พ.ศ.2551 ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของการเผยแผ่ธรรมะไปสู่ใจเยาวชน โดยการนำของพระเดชพระคุณหลวงพ่อคุณครูไม่ใหญ่ กำลังถูกจารึกขึ้น จาก 26ปีของโครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ที่มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนกว่า 5ล้านคน พัฒนาไปสู่การศึกษาธรรมะ ลงสู่ภาคปฏิบัติให้เป็นนิสัยในชีวิตประจำวัน ด้วยโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 3 มีนาคม พ.ศ.2560 เวลา 09.00 น.
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2556
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2556 โครงการธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 2 จากวัดพระธรรมกาย ถึง ม.ปทุมธานี
ดร.เอมเบดการ์ และ เหินฟ้าสู่แดนภารตะ
“ในการมาสัมมนาครั้งนี้ เราไม่ได้มาแค่เพียงคุยกันเท่านั้น แต่ถึงเวลาแล้ว ที่จะลงมือปฏิบัติให้เกิดผลจริงจังอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากที่อินเดียรวมคนได้เก่งมาก หลวงพ่อจึงอยากเห็นการจัดบวชสามเณร 1ล้านรูป”
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 4 วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2558
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 4 วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2558 "ธรรมยาตรา เพื่อฟื้นฟูศีลธรรมโลก"
ปฐมเริ่มการเดินธุดงค์ธรรมชัย สถาปนาเส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ตอนที่ 2
สำหรับเส้นทางในครั้งนี้ เป็นเส้นทางมหัศจรรย์ ที่มีกลีบกุหลาบปูลาดให้พระธุดงค์เดินไปโดยตลอดทาง
ผู้สวมชุดมหาลดาประสาธน์ พิธีทอดกฐินปี 53
กัลยาณมิตรปูชิตา สุขีวัฒนา หรือที่ทุกคนเรียกขานกันว่า “น้องปู” เธอมีความปรารถนาจะขยายวิชชาธรรมกาย
สภาธรรมกายสากลของวัดพระธรรมกายทำไมหลังคามุงด้วยใบจาก
สภาธรรมกายสากลของวัดพระธรรมกายก่อสร้างขึ้นมาอย่างแข็งแรง แต่ว่าทำไมหลังคาจึงใช้ใบจากมุง ทั้งๆ ที่ถ้าใช้กระเบื้องก็คงจะแข็งแรงทนทานกว่าและไม่ร้อนด้วย