อนภิรติชาดก ชาดกว่าด้วยจิตขุ่นมัว ไม่ขุ่นมัว
ความสำเร็จในมรรคผล การบรรลุญาณสมาบัติของผู้ปฏิบัติกรรมฐานนั้น เกี่ยวข้องด้วยความสมถะสันโดษหลุดพ้นจากกิเลสอันอยากได้อยากมีเป็นอย่างยิ่ง ผู้ปฏิบัติภาวนา แม้สำเร็จญาณระดับใดแล้วก็ตาม แต่หากรับเอาอาสวะกิเลสเข้าจิตใจ แม้น้อยนิด ญาณวิเศษที่พากเพียรมา ก็จักเสื่อมลงถดถอยลงสิ้น
นิทานชาดก 500 ชาติกรรมส่งผลตอนใกล้ตาย
คนมีอายุ 70-80 ปี ทำกรรมมาทั้งชีวิต รวมแล้วหลายแสนกรรม ทั้งกรรมดี กรรมชั่ว และกรรมไม่ดีไม่ชั่ว เมื่อวาระสุดท้ายมาถึง กรรรมที่ทำมาทั้งชีวิต จะมาส่งผลตามลำดับ โดยเริ่มจากกรรมหนัก กรรมใกล้ตาย กรรมที่ทำเป็นประจำ สุดท้าย คือ กรรมไม่เจตนา
แก้กรรม-รู้ทันวิบากกรรมถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปไหน ?
ถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปสู่อบายภูมิ มีนรก เป็นต้น สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ใน ปุคคลสูตร ว่า...
แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎกจิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
ธรรมะกับพระบาลีการควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...
ธรรมะกับพระบาลีเครื่องกั้นจิตปิดกั้นใจ
“จิต” ของมนุษย์นั้นเดิมทีมีความใสสว่าง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส(กิเลสที่จรมา)
แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎกสร้างบารมีได้ตลอดรอดฝั่งต้องมีธาตุบริสุทธิ์
การจะอยู่สร้างบารมีกับหมู่คณะไปได้นาน ๆ ต้องมีธาตุบริสุทธิ์มาก หากมีธาตุบริสุทธิ์มาก ธาตุที่ไม่บริสุทธิ์ก็จะค่อย ๆ หมดไป ดังนั้นเราต้องไม่ประมาทในการดำเนินชีวิตโดยการหมั่นสั่งสมธาตุบริสุทธิ์เอาไว้มาก ๆ
ธรรมะสอนใจมีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา
ธรรมะกับพระบาลี