ตะลึงเวียดนามการศึกษาเจริญกว่าไทย
ไทย-สหรัฐร่วมติดตั้ง ระบบตรวจคลื่นยักษ์ "สึนามิ"
ตักบาตรพระ 20,000 รูป ณ เมืองมัณฑเลย์
ประวัติศาสตร์เมียนมาร์-ไทย ตักบาตรอาหารแห้งพระภิกษุ 20,000 รูป วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2561 ณ เมืองมัณฑเลย์ (สนามบินเก่า) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ตั้งแต่เวลา 06.30 น.
ตักบาตรพระพม่า - ไทย 10,000 รูป ณ เมืองมัณฑะเลย์
ครั้งแรกในประวัติศาสตร์พม่า-ไทย ตักบาตรอาหารแห้งแด่พระภิกษุ 10,000 รูป ณ เมืองมัณฑะเลย์ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ขอเชิญร่วม ตักบาตรพระพม่า-ไทย วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558 บนถนนรอบคูเมืองมัณฑะเลย์ ตั้งแต่เวลา 07.00 น. สอบถามรายละเอียดได้ที่ 02-831-1234
ขอเชิญร่วมพิธีบวชสามเณรแก้วกว่า 330 รูป ณ เมืองทวาย ประเทศเมียนมาร์
เมียนมาร์ - ไทย ร่วมจัดพิธีบวชสามเณรแก้ว สามเณรแท้ กว่า 330 รูป ครั้งประวัติศาสตร์ ณ เมืองทวาย ประเทศเมียนมาร์ ระหว่างวันที่ 8 -22 พฤศจิกายน 2558
ประมวลภาพตักบาตรพระพม่า - ไทย กว่า 3,000 รูป ณ ถนน Arzarni เมืองทวาย
ประมวลภาพตักบาตรพระพม่า - ไทย กว่า 3,000 รูป ณ ถนน Arzarni เมืองทวาย วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
ประมวลภาพพิธีปลงผมนาคธรรมทายาท รุ่นผู้นำพุทธโลก
พิธีปลงผมนาคธรรมทายาท รุ่นผู้นำพุทธโลก จำนวน 13 ประเทศ 22 ท่าน ได้แก่ ไทย , เมียนมาร์ , กัมพูชา, มาเลเซีย , สิงคโปร์ , อินเดีย , เนปาล , ศรีลังกา , บังคลาเทศ, ไต้หวัน , สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ , เยอรมันนี และ สหรัฐอเมริกา ณ วัดบ้านขุน อ.ฮอด จ.เชียงใหม่
สมุดไทย ใบลาน งานศาสน์งามศิลป์
เมื่อครั้งที่อุตสาหกรรมผลิตกระดาษยังไม่เจริญแพร่หลาย ผู้คนสมัยโบราณได้ใช้การเขียน บันทึกลงบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นจารึกบนแผ่นศิลา เปลือกไม้หรือภาชนะดินเผา แม้วัสดุดังกล่าวจะคงทนถาวร แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องน้ำหนักของวัสดุ ขนาดเนื้อที่ และความยากในการจารจารึก...