ใคร คือ เนื้อนาบุญ ?
วัจฉะ เราตถาคตกล่าวว่า ทานที่ให้แก่ผู้มีศีลมีผลมาก หาได้กล่าวอย่างนั้นในผู้ทุศีลไม่ และผู้มีศีลนั้นเป็นผู้ละองค์ 5 ประกอบด้วยองค์ 5
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
ขอเชิญรับปุ๋ยสูตรบำรุงกล้าดอกดาวรวย กับ DMC.tv
หลังจากที่ทุกท่านได้เพาะกล้าดาวรวยผ่านมา ตอนนี้ถึงเวลาที่จะบำรุงด้วยปุ๋ยสูตรต้นแข็งแรงแล้วนะคะ
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา จัดงานวันธรรมชัย
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดพิธีทอดผ้าป่า เนื่องในวันธรรมชัย
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ครั้งหนึ่งในชีิวิตของลูกผู้ชาย
"ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มีภัตรหนเดียว ต้องนอนผู้เดียวตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ท่านเป็นคฤหัสถ์อยู่ในเรือน จงหมั่นประกอบพรหมจรรย์อันมีภัตรหนเดียว นอนผู้เดียว ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด" แม้พระอาจารย์จะทักเช่นนี้ แต่ด้วยมโนปณิธานอันแน่วแน่ที่จะบวชให้ได้ ท่านเพียรเข้าไปขออนุญาตพระเถระถึง ๓ครั้ง
รู้ทันน้ำเสียเราเคลียร์ได้-ความรู้รอบตัว
น้ำเสีย...อาจมีสารอินทรีย์หรือออกซิเจนอยู่ก็เป็นได้ เมื่อน้ำท่วมกลายเป็นน้ำขัง แล้วก็แปรสภาพเป็นน้ำเสีย ส่งกลิ่นเหม็นและไม่ใส ดูยังไงก็ไม่น่ามอง
โทษของการห้ามสามีทำบุญ
วันและคืนย่อมล่วงไปๆ ชีวิตย่อมดับไป อายุของสัตว์ทั้งหลายย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำในแม่น้ำน้อย ฉะนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทำบาปกรรมอยู่ ย่อมไม่รู้สึกตัว ภายหลังเขาย่อมได้รับทุกข์อันเผ็ดร้อน เพราะบาปกรรมนั้นมีวิบากเลวทราม
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๔
พระเถระอธิบายให้ฟังว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระบรมศาสดาตรัสสอนไว้ว่า...มาเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งจิตว่า ผู้นี้เป็นมารดา ในหญิงผู้ที่พอเป็นมารดาได้ ส่วนหญิงผู้ที่พอเป็นพี่สาว น้องสาวและลูกสาว พวกเธอจงคิดว่าเป็นพี่สาว เป็นน้องสาวและเป็นลูกสาว...ด้วยวิธีการอย่างนี้แหละ จึงเป็นเหตุให้พระภิกษุหนุ่มทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์อยู่ได้จนตลอดชีวิต"
บัณฑิตกับพหูสูตแตกต่างกันอย่างไร
พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและนำความรู้ความสามารถไปใช้ในทางที่ดีอย่างถูกต้อง และเกิดประโยชน์กับสังคมด้วย