พูดมากเสียมาก พูดน้อยเสียน้อย ไม่พูดไม่เสีย นิ่งเสียโพธิสัตว์
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ
เราชนะแล้ว
เพราะความตระหนี่และความประมาท คนเราจึงให้ทานไม่ได้ ผู้มีปัญญาเมื่อต้องการบุญ พึงให้ทานเถิด
สามัคคี มีพลัง
ความสามัคคี คือพลังของหมู่คณะ แม้ว่าต่างคน จะต่างที่มา ต่างวิถีชีวิต ต่างจิตต่างใจ แต่เมื่อมีความสามัคคี รวมเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันได้ จะก่อเกิดพลังยิ่งใหญ่ ที่สามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ได้อย่างน่าอัศจรรย์
โกรธกันไปทำไม
บุคคลใดไม่มีความโกรธภายในจิตใจ และก้าวล่วงภพน้อยใหญ่มีประการเป็นอันมากเสียได้ เทวดาทั้งหลายไม่อาจเล็งเห็นวาระจิตของบุคคลนั้น ผู้ปลอดภัย มีสุขไม่มีโศก
สุดอัศจรรย์ ประดิษฐานพระบรมธาตุท่ามกลางพายุ
หลวงพ่อคะ..เราอัญเชิญพระบรมธาตุมาถิ่นอีสานแท้ๆ แต่กลับเจอแต่คนเหนือทั้งนั้นเลยค่ะ ซึ่งคนเหนือที่ว่านี้..ก็คือ เหนือความคาดหมาย ค่ะ เพราะพิธีประดิษฐานพระบรมธาตุนี้..ยังใจทุกคนให้ทั้งแกร่งทั้งใสประดุจเพชร เพราะทุกคนสามารถทนแดดเปรี้ยงๆในตอนต้น และทนเปียกชุ่มในตอนปลาย ด้วยความรู้สึกที่ปลื้มเกินลิ
กุททาลชาดก ชาดกว่าด้วยความชนะที่ดี
ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์เมื่อเบื่อชีวิตปุถุชนก็เอาจอบฝั่งดินไปเป็นฤาษี ครั้นเบื่อหน่ายเพศบรรพชิตก็สึก เป็นเช่นนี้มา ๖ ครั้งแล้ว สุดท้ายข้าพระองค์ได้นำตัวตั้งของกิเลส คือจอบคู่ชีวิตเล่มนี้ขว้างทิ้งลงแม่น้ำ ข้าพระองค์หันหลังเขวี้ยงมันไป เพื่อจะได้ไม่พบเห็นจุดที่มันจมอยู่อีกต่อไป และข้าพระองค์ก็ตัดขาดกิเลสกับมันแต่บัดนั้น
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 11 รูป | วันวิสาขบูชา พ.ศ. 2567
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 11 รูป วันวิสาขบูชา VISAKHA PUJA DAY วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2567 ณ อุโบสถพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
浮城
ท่านได้มาบวชสามเณร 3 ครั้ง คือ ตอนอายุ 9 ปี 12 ปี และ 14 ปี และในการบวชสามเณรครั้งสุดท้ายนี้เอง ท่านได้ตัดสินใจอย่างแน่วแน่ที่จะอยู่ในเพศบรรพชิตตลอดชีวิต และท่านยังบอกอีกว่า “แม้จะอยู่รูปเดียวก็สามารถอยู่ได้ เมื่อบวชเข้ามาแล้วจะไม่กลับออกไปอีก เพราะมีมรรคผลนิพพานเป็นแก่นสาร จะไม่ว้าเหว่ เณรอยากอยู่ที่นี่ อยากบวชปฏิบัติธรรมเละอยากเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า”