มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
แอดวานซ์ คอร์ส แอดวานซ์ ชีวิต
โครงการฝึกสมาธิ สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้การฝึกสมาธิให้ลึกซึ้ง และเพื่อการพัฒนาตนเองให้ก้าวสู่การเป็น MMC (ครูสอนสมาธิเบื้องต้น
ทำไมต้องเกลียดขี้หน้ากัน
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่า อาการไม่ชอบหน้า หรือเกลียดขี้หน้าเกิดมาจากอะไร
ความดีสากลและความรู้สากลจุดความสว่างกลางใจชาวปินอย
วันนี้พวกเราทั้งอาจารย์ใหญ่, คุณครู, นักเรียนชาวปินอยทั้ง 44 ชีวิต รู้สึกตื่นเต้นมากค่ะ ที่ได้รับการคัดเลือกมาร่วมงาน “วันรวมพลังเด็กดี V-Star” ที่ประเทศไทย โดยพวกเราเป็นทีมที่สามารถทำคะแนนสูงที่สุด จากการฝึกความดีสากลและนั่งสมาธิมาต่อเนื่อง จากทุกระดับชั้นการศึกษาค่
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
บินไทยยันพร้อมบินดอนเมือง25มี.ค.จับมือรถใต้ดินเช็กอินลาดพร้าว
ศาสดาเอกของโลก (๖)
มี..อานุภาพเป็นอจินไตย ยิ่งใหญ่กว่าผู้มีรู้มีญาณจะคาดคะเนได้ ผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับท่าน จะเกิดความซาบซึ้งในพระคุณอันไม่
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - อบรมตนมุ่งสู่ทางสวรรค์
ผู้คนมากมายซึ่งต่างไม่ปรารถนาจะให้พระราชาออกผนวช พากันยื่นข้อเสนอมากมาย แต่พระองค์ไม่ได้ทรงยินดีกับสิ่งเหล่านั้น ยังคงมีพระทัยมุ่งมั่นที่จะเสด็จออกบรรพชาให้ได้ พระองค์ทรงแสดงธรรมให้เข้าใจว่า "ชีวิตนี้ถูกชรานำเข้าไป เป็นของน้อยนิด ดุจน้ำที่อยู่ในโคลน เมื่อชีวิตเป็นของน้อยเหลือเกินเช่นนี้ เวลานี้ไม่ใช่เวลาที่จะประมาท
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย