ทำไมต้องเกลียดขี้หน้ากัน
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่า อาการไม่ชอบหน้า หรือเกลียดขี้หน้าเกิดมาจากอะไร
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 19
นารทดาบสต้องการให้พระโพธิสัตว์สมาทานมั่น จึงถวายข้อคิดว่า “พระองค์ เพียงแต่ทรงเพศบรรพชิตนี้ จะสำคัญว่า เราข้ามพ้นกิเลสแล้วหาได้ไม่ กรรมคือกิเลสนี้ ไม่ใช่ว่าจะพึงข้ามได้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพราะยังมีอันตรายอยู่มาก”
ปลื้มกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว…
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - เส้นทางสมณะ
พอดำริเช่นนั้นแล้ว สุภัททปริพาชกจึงเข้าไปหาพระอานนท์ ที่ดงป่าไม้สาละของพวกมัลลกษัตริย์ เพื่อกล่าวถึงความตั้งใจของตน ที่จะเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทูลถามปัญหาที่ค้างคาใจ แต่ก็ถูกพระอานนท์กล่าวห้ามถึง ๓ครั้ง เพราะท่านเกรงว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจะทรงลำบากพระวรกาย เนื่องจากพระพุทธองค์กำลังอาพาธ จึงไม่อยากให้ใครมารบกวน
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - สมณทัสสนา
ผีเสื้อน้ำที่สุวรรณภูมิอาศัยอยู่ในทะเล หากมีทารกเกิดในราชตระกูลเมื่อใด จะขึ้นมาจับทารกไปกินอยู่เสมอๆ ในวันที่พระเถระทั้งหลายไปถึงสุวรรณภูมิ และประจวบเหมาะกับเป็นวันที่เด็กเกิดในราชตระกูลพอดี พวกชาวเมืองเห็นพระเถระเข้า ก็พากันเข้าใจว่าเป็นพวกผีเสื้อน้ำ เพราะไม่เคยเห็นพระภิกษุมาก่อนเลย ต่างก็ถืออาวุธเข้าไปจะทำร้ายพระเถระ
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 35 อชิตพราหมณ์บรมโพธิสัตว์เห็นเทวทูตทั้งสี่
เมื่อพระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาบังเกิดบนโลกแล้ว พระองค์จะทรงมีพระนามว่า "อชิตพราหมณ์"
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 36 อชิตพราหมณ์บรมโพธิสัตว์ออกบวช
การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ยากมาก เพราะต้องผ่านการสร้างบารมีมาอย่างน้อย 20 อสงไขยกับหนึ่งแสนมหากัป
อานิสงส์ถวายรองเท้า
เราได้ถวายรองเท้าแด่พระพุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ ผู้เป็นปราชญ์ มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ด้วยผลแห่งทานนั้น เราไม่เคยรู้จักทุคติเลย
สุมนสามเณร
บุคคลใดมีสัจจะ มีธรรมะ มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม มีความข่มใจ บุคคลนั้นชื่อว่า เป็นนักปราชญ์ผู้บริสุทธิ์ ชื่อว่าเป็นเถระ ผู้มั่นคงในธรรม