พรรษาแห่งความสว่างไสว
แรกๆท่านเล่าให้ฟังว่า ชาวบ้านกลัววิ่งหนี ไม่เข้าใจว่าท่านคือใคร เพราะไม่เคยเห็นพระมาก่อน บอกว่าพระเป็นผีชนิดหนึ่ง ท่านได้สั่งสอนชาวบ้านให้หันมานับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง จากเดิมที่นับถือผีไม่เข้าใจว่าพระคือใคร ปัจจุบันชาวบ้านมาช่วยกันสร้างศาลาวัด และเข้าวัดทุกวันครับ วันละ 2เวลา คือ เวลาเช้า...ตีสี่ถึงหกโมงเช้า เวลาเย็น ประมาณหกโมงเย็นถึงสองทุ่ม
คำสอนของวัดพระธรรมกายถูกต้องตามแนวทางคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่
คำสอนของวัดพระธรรมกายถูกต้องตามแนวทางคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่ ทำไมถึงเน้นแต่การชวนคนทำบุญอย่างเดียว
สามเณรเจอพระบังบด
ขณะที่ผมหันหลังมา ก็ต้องตกใจจนทิ้งไม้กวาด แล้วรีบนั่งคุกเข่าพนมมือ ตอนนั้นเหมือนผมโดนสะกดยังไงก็ไม่ทราบครับ เพราะพระรูปที่ผมเห็นมีลักษณะแตกต่างจากพระทั่วไป
หัวหน้าแก๊ง...เปลี่ยนไป
กระผมเคยทำตัวแย่ๆทำให้พ่อแม่ร้องไห้เสียน้ำตามาแล้ว ตอนนี้กระผมก็ทำให้พ่อแม่เสียน้ำตาอีกแล้วแต่น้ำตาในครั้งนี้เป็นน้ำตาแห่งความสุข
เพราะคุณยายช่วยแท้ๆ
“ยามป่วยคุณยายช่วย ยามตายคุณยายส่ง” รักของคุณยายที่มีต่อลูกศิษย์เป็นรักข้ามภพจริง ๆ ครับ เมื่อคุณยายท่านเปี่ยมพระคุณขนาดนี้ กฐิน 100 ปี ของท่านลูกจึงเทใจ เทกระเป๋า เอาบุญกับคุณยายอย่างเต็มที่ ตอนนี้ล้นกองแล้วครับ
ภาพวันออกพรรษา รวมรูปวันออกพรรษาสวยๆ ที่นี่
ภาพวันออกพรรษา รวมภาพวันออกพรรษาสวยๆ ที่นี่ ..
งานบุญประจำปีของวัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายในวันนี้ ๔๐ ปีผ่านไป สรรพสิ่งล้วนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป แต่มโนปณิธานของหมู่คณะวัดพระธรรมกาย ก็ยังไม่แปรเปลี่ยน ยังคงยึดมั่นที่จะสืบทอดมโนปณิธานของ พระมงคลเทพมุนี และคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ที่ปรารถนาจะนำพระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย แผ่ขยายออกไปทั่วโลก เพื่อให้ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปสร้างสันติสุขให้บังเกิดขึ้น ในใจของมวลมนุษยชาติ
เข้าพรรษา ช่วงเวลาแห่งการแก้ไขตัวเอง
วันเข้าพรรษา พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว)เรื่องเข้าพรรษา ช่วงเวลาแห่งการแก้ไขตัวเอง
หน้าที่ชาวพุทธ ในช่วงเข้าพรรษา
หน้าที่ชาวพุทธในช่วงเข้าพรรษา เราจะต้องทำอย่างไรบ้างในช่วงเข้าพรรษานี้ และต้องปฏิบัติตนอย่างไรในฐานะชาวพุทธที่ดี ติดตามกันได้ที่บทความนี้..
"เข้าพรรษา" ช่วงเวลาของการเพิ่มพูนความดี
เทศกาลเข้าพรรษาเวียนมาอีกครั้งหนึ่ง ในปีนี้เป็นปีอธิกมาส คือ เป็นปีที่มีเดือน ๘สองหน วันสำคัญในทางศาสนาของปีนี้จึงเลื่อนไป ๑ เดือน ตามข้อกำหนดของการนับวันของประเทศไทย ทำให้วันมาฆบูชาเลื่อนไปตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ และวันวิสาขบูชาตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗