แม่เป็นผู้นำบุญ จังหวัดลำพูน
เรื่องราวชีวิตของจิตแพทย์ท่านหนึ่ง...เขาได้พบว่า ส่วนใหญ่คนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต มักเกิดจากการที่ตัวผู้ป่วยไม่สามารถควบคุม หรือทำความเข้าใจปัญหาต่างๆที่เกิดกับตัวเองได้ว่าเกิดจากอะไร ทำไมตัวเองถึงต้องประสบเคราะห์ร้ายกว่าคนอื่น และบางทีมักคิดว่าตัวเองช่างเป็นคนที่โชคร้ายที่สุดในโลก เขาจึงได้นำหลักธรรมคำสอน เกี่ยวกับกฎแห่งกรรมที่ได้จากโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา ไปถ่ายทอดให้แก่ผู้ป่วยของเขา บ้าง ตอบคำถามข้อข้องใจของผู้ป่วย บ้าง และได้ผลลัพธ์เป็นอย่างดี...
ติรัจฉานภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดในพวกเทวดาหรือมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้ สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้วกลับไปเกิดในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน ในเปตติวิสัย มีมากกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแล เธอทั้งหลาย พึงกระทำความเพียรเพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
ภาษาบาลีและสันสกฤตมีความสำคัญอย่างไร
ภาษาไทย แม้จะเป็นภาษาคนละตระกูลกับภาษาบาลีและสันสกฤต แต่ก็รับเอาคำบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยไม่น้อย อาจกล่าวได้ว่ามากกว่าภาษาอื่นๆ ที่นำมาใช้ในภาษาไทยในปัจจุบัน เช่น ภาษาอังกฤษ
นักโทษเมืองเบียร์ เชื่อแมวเป็นแม่ หวังมาเยี่ยมที่คุก
Avoiding hell: court promised more confessions
Answer by Law of Kamma :- Eye Birthmark
An audience has a daughter who has the right eye birthmark. What has caused her daughter to be like this?
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (3)
รสเหล่าใดมีอยู่ในแผ่นดิน สัจจะเป็นรสที่ยังประโยชน์ให้สำเร็จกว่ารสเหล่านั้น เพราะว่าสมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในสัจจะย่อมข้ามพ้นฝั่งแห่งชาติและมรณะได้
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๓)
ในระหว่างทางอาจมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเครื่องพิสูจน์กำลังใจของเราเท่านั้น บางปัญหาเราแก้ไขได้
ชีวิตในสังสารวัฏ
เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง เราและเธอทั้งหลายได้ท่องเที่ยวไปในชาตินั้นๆ ตลอดกาลนาน อริยสัจ ๔ เหล่านี้ เราและเธอทั้งหลายเห็นแล้ว ตัณหาที่จะนำไปสู่ภพถอนขึ้นได้แล้ว มูลแห่งทุกข์ตัดขาดแล้ว บัดนี้ภพใหม่ไม่มี
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ