ผู้ที่ผิดศีลข้อที่ ๑ อยู่เป็นประจำสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้หรือไม่
ศีลไม่ว่าข้อใด ถ้าผิดเป็นประจำ ก็ยากที่จะเข้าถึงธรรมกายในตัวได้ แม้ผิดเพียงข้อเดียวเป็นประจำ เช่น ฆ่าสัตว์ทุกวัน ก็ไม่มีทางเข้าถึงธรรมกาย
รักสุดซึ้งถึงปรโลก
สัตว์นรกบางพวกท่านก็เห็นแล้ว สัตว์เดียรัจฉาน เปรต อสูร มนุษย์ หรือเทวดาบางพวก ท่านก็เห็นแล้ว ผลกรรมของตน ท่านก็เห็นประจักษ์ด้วยตนเองแล้ว เราจักนำท่านไปส่งยังเมืองปาฏลีบุตร ท่านไปถึงเมืองปาฏลีบุตรแล้ว จงทำกรรมอันเป็นกุศลให้มาก
อบรมยุวธรรมทายาทรุ่นที่ 6 ประเทศสวีเดน
เมื่อวันที่ 10 ถึง16 กรกฎาคม พ.ศ.2554 คณะพระอาจารย์วัดพระธรรมกายบูโรส และวัดพุทธสต็อคโฮล์ม ได้จัดอบรมยุวธรรมทายาทรุ่นที่ 6 ขึ้นที่วัดพระธรรมกายบูโรส
คำขอบวช แบบเอสาหัง
คำขอบวช แบบเอสาหัง วิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง บทสวด พิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง) ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจำใช้ในพิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง)
เตรียมตัวสู่โลกยุคใหม่ที่สดใสด้วยสมาธิ
สันติภาพเริ่มจากการเข้าไปค้นพบความสงบภายใน เราต้องเปลี่ยนแปลงจิตใจของเราให้ได้ก่อน จึงจะสามารถเปลี่ยนโลกใบนี้ได้
มาวัดปฏิบัติธรรมสั่งสมบุญได้ทุกวันที่วัดพระธรรมกาย
ขอเรียนเชิญผู้มีบุญทุกท่านมาวัดปฏิบัติธรรมสั่งสมบุญได้ทุกวันที่วัดพระธรรมกาย เริ่มกิจกรรม วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2558 เป็นต้นไป สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 02-831-1490, 083-540-6649
อบรมธรรมทายาทหญิงรุ่นที่ 3 วัดพระธรรมกายบูโรส
ในระหว่างวันที่ 26 มิถุนายน ถึง 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 วัดพระธรรมกายบูโรส ได้จัดอบรมธรรมทายาทหญิงรุ่นที่ 3 ขึ้น เป็นการสร้างทายาททางธรรมในดินแดนยุโรปให้เพิ่มมากขึ้น
พระพุทธรูปปางสมาธิ รวมรูปพระพุทธรูปปางสมาธิยุคสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปปางสมาธิ รวมรูปพระพุทธรูปปางสมาธิยุคสมัยต่างๆ พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ (นั่ง) สมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองวางหงายซ้อนกันบนเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย พระชงฆ์ (แข้ง) ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"
ธุดงค์ธรรมชัย ... การเห็นสมณะเป็นมงคลอย่างยิ่ง
สมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ในสมณเพศ) คุณสมบัติของสมณะประกอบด้วย 3 อย่างคือ 1.สงบกาย คือมีความสำรวมในการกระทำทุกอย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม ... 2.สงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคำพูดและภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี ... 3.สงบใจ คือการทำใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำ ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความพยาบาทใดๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา