อานิสงส์บูชาด้วยดอกอุบล
เราทรงดอกไม้ถวายพระมหามุนี ดังศิษย์กั้นร่มถวายอาจารย์ ในกัปที่สามหมื่น เราได้บูชาดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่สองพันแต่กัปนี้ เราได้เป็นกษัตริย์ ๕ ครั้ง และเป็นพระเจ้าจักรพรรดิทรงพละมาก มีพระนาม หัตถิยะ เราได้บรรลุคุณวิเศษทั้งหลาย ก็ด้วยอานุภาพแห่งบุญที่ได้ถวายดอกไม้เป็นพุทธบูชา
กลิ่นศีล หอมยิ่งกว่า
กลิ่นศีล หอมยิ่งกว่า ของหอมเหล่านี้ คือ จันทน์ กฤษณา ดอกอุบล และ กะลำพัก
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ผลแห่งการถวายดอกปทุม
ครั้งหนึ่ง พระกาฬุทายีเถระได้สร้างบุญพิเศษที่ทำให้เกิดมหาปีติไม่เสื่อมคลาย คือ วันหนึ่งพระปทุมุตตรพุทธเจ้าได้เสด็จจาริกไปโปรดสัตวโลก ครั้งนั้น ท่านได้เอาดอกปทุม ดอกอุบล ดอกมะลิซ้อนที่กำลังบานสวยงาม และข้าวสุกอย่างดีมาถวายพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ทรงรับด้วยหวังจะอนุเคราะห์ท่าน
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
“นายโคบาลย่อมต้อนโคทั้งหลาย ไปสู่ที่หากินด้วยท่อนไม้ ฉันใด ความแก่ชราและความตายย่อมต้อนอายุ ของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น” (ขุ.ธ.)
อานิสงส์ถวายความหอม
“ของหอม” ตรงกันข้ามกับ “ของเหม็น” ของหอมเป็นสุคันธารมณ์ที่ชื่นชอบ พออกพอใจ ชุ่มชื่นใจแก่คนทั่วไป ความสุนทรีย์ในกลิ่นหอมช่วยทำให้อารมณ์ผ่อนคลาย ร่างกายจะก่อเกิดสารแห่งความสุขไปพร้อมกับความหอมที่จรุงใจด้วยพืชพรรณธรรมชาติที่สกัดออกมาเป็นของหอมอันทรงคุณค่า
พรรณนาพุทธคุณหนุนส่งถึงนิพพาน
เรากล่าวสรรเสริญคุณของพระพุทธเจ้า ว่ามีทั้งส่วนพระองค์ และที่เป็นประโยชน์แก่คนอื่น จึงเป็นผู้ประกอบด้วยปีติในพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้มีความงดงาม เมื่อเรากล่าวสรรเสริญพระคุณ ชื่อว่าชมเชยพระผู้นำ ผู้ทรงชนะมาร ล่วงเสียซึ่งเดียรถีย์ ครอบงำเดียรถีย์ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้มีความรุ่งเรือง เมื่อเรากล่าวสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชื่อว่าทำพระองค์ให้เป็นที่รักของหมู่ชน เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้น่ารักน่าชื่นชม เหมือนพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ ฉะนั้น
ศีลศัลยกรรม
“คนมีศีล ย่อมได้รับอานิสงส์ 5 อย่าง คือ พรั่งพร้อมทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงฟุ้งขจรไปทั่ว มีความอาจหาญในการเข้าสู่สมาคม เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ ละโลกแล้วเข้าถึงสุคติสวรรค์”
อานิสงส์ของการรักษาศีล 5
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอานิสงส์ของการรักษาศีลแก่ชาวปาฏลิคามใน มหาปรินิพพานสูตร ว่ามี 5 ประการ คือ.......
พระปิลินทวัจฉะ (๒)
หมู่สัตว์ที่เกิดมาแล้วจำจะต้องตายในโลกนี้ หากได้ทำกรรมอันใดไว้คือบุญและบาป บุญ และบาปทั้งสองประการนั้นแลเป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไป อนึ่ง บุญและบาปย่อมเป็นของติดตามเขาไป ประดุจเงาติดตามตนไป เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรมสะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก ด้วยว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๑)
ภิกษุผู้สันโดษ ย่อมเป็นผู้อยู่เป็นสุขในทิศทั้ง ๔ และเป็นผู้ไม่หงุดหงิด สันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงำอันตรายทั้งหลาย ไม่หวาดเสียว เทียวไปคนเดียวดังนอแรด