บวช..คำตอบสุดท้ายของชีวิตในสังสารวัฏ
ท่านพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวานับเป็นตัวอย่างที่น่าอัศจรรย์ของผู้เห็นภัยในสังสารวัฏนอกจากจะละสมบัติมากถึง ๘๗ โกฏิออกบวชแล้วยังชวนน้องสาว ๓ คน คือ นางจาลา นางอุปจาลา นางสีสุปจาลาและน้องชายอีก ๒ คน คือ จุนทะ อุปเสนะ ให้บวชทั้งหมด
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
เส้นทางจอมปราชญ์ (๕)
บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ทั้งหลาย เพื่อบรรลุนิพพาน เป็นผู้ไม่ประมาท มีปัญญาเป็นเครื่องสอดส่อง ฟังอยู่ด้วยดี ย่อมได้ปัญญา บุคคลผู้มีธุระ กระทำสมควร มีความหมั่นย่อมหาทรัพย์ได้ บุคคลย่อมได้ชื่อเสียงด้วยสัจจะ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ ผู้ใดมีศรัทธาอยู่ครองเรือน มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ ผู้นั้นแล ละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไม่เศร้าโศก
สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ
บทธรรมแต่ละหมวด ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์สอนไว้แล้วมีบันทึกในพระไตรปิฎก ล้วนคือ “ขุมทรัพย์ใหญ่ของมวลมนุษยชาติ” ความรู้ทางโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อย แต่ความรู้ในพระไตรปิฎกเป็น
献给一个人
พ่อเป็นคนรักการอ่านมาก ท่านสามารถใช้ภาษาอังกฤษ จีนกลาง จีนกวางตุ้ง และจีนแต้จิ๋วได้เป็นอย่างดี ที่แปลกมากคือ พ่อไม่ชอบอาบน้ำ ล้างมือ เข้าห้องน้ำแล้วไม่ชอบราดน้ำ ชอบอยู่ในที่รกๆ ชอบเก็บของที่เขาทิ้งไว้ตามถนน ถังขยะ เอามาเก็บไว้ในบ้านเฉยๆ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
เมื่อบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท
เมื่อใดบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท เมื่อนั้นเขานับว่าได้ขึ้นสู่ "ปราสาทคือปัญญา" ไร้ความเศร้าโศก สามารถมองเห็นประชาชน ผู้โง่เขลา
ท่องสวรรค์ ตอน ชีวิตความเป็นอยู่ของเทวดา
ชีวิตความเป็นอยู่ของเทวดา ได้ฟังคุณครูไม่ใหญ่เล่าธรรมะในรายการ ธรรมะเพื่อประชาชน ถ่ายทอดทางสถานีวิทยุ AM 1521 ตอน ท่องสวรรค์ เอาไว้ว่า...
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน