Answer by Law of Kamma :- Eye Birthmark
An audience has a daughter who has the right eye birthmark. What has caused her daughter to be like this?
Law of Kammaโลกมนุษย์ที่สุดของความแตกต่าง
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความแตกต่างของแต่ละบุคคล แม้เราจะมีอวัยวะที่เป็นคนเหมือนกัน แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่เหมือนกัน ความแตกต่างเหล่านี้ หากให้เราคิดหาคำตอบด้วยตนเอง ก็คงจะกะโหลกบานสติเฟื่องเป็นแน่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงให้คำตอบเหล่านี้ไว้แล้วใน จูฬกัมมวิภังคสูตร
ตายแล้วไปไหนสร้างบุญอะไรดีกว่า
สำหรับผู้รักการสร้างบุญมักมีคำถามบ่อยๆ ว่า ทำอะไรได้บุญมากกว่ากัน ครั้นพอรู้ว่า ความดีนั้นได้บุญมากกว่าความดีนี้
แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎกอานิสงส์เอาของหอมฉาบทากุฏิ
บุคคลใดเอาของหอมทาพื้นพระคันธกุฎี ด้วยผลของกรรมนั้น ไม่ว่าเขาจะเกิดในชาติใดๆ จักเป็นผู้มีกลิ่นกายหอมทุกชาติไป จักเป็นผู้เจริญด้วยกลิ่นคือคุณแห่งศีล จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วจักปรินิพพาน เพราะกรรมที่ทำไว้ดีนั้น และเพราะการตั้งเจตจำนงไว้
ธรรมะเพื่อประชาชนอานิสงส์อนุโมทนาบุญ
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ มหาอุบาสิกาวิสาขา สหายของดิฉันอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้สร้างมหาวิหารถวายสงฆ์ ดิฉันเห็นมหาวิหารและการบริจาคทรัพย์อุทิศสงฆ์ ได้บังเกิดความเลื่อมใสในบุญนั้น จึงอนุโมทนาบุญด้วยใจที่เปี่ยมด้วยศรัทธาและมหาปีติ ดิฉันได้วิมานที่อัศจรรย์น่าทัศนา ก็เพราะการอนุโมทนาบุญอันบริสุทธิ์ในครั้งนั้น
ธรรมะเพื่อประชาชนอานิสงส์ถวายเครื่องอัฏฐบริขาร
มหาสมุทรไม่อิ่มด้วยน้ำที่ไหลมาจากทุกทิศทุกทาง ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ พระราชาไม่ทรงอิ่มด้วยราชสมบัติ คนพาลไม่อิ่มด้วยบาป หญิงไม่อิ่มด้วยของ ๓ อย่าง คือ เมถุนธรรม เครื่องประดับ และการคลอดบุตร พราหมณ์ไม่อิ่มด้วยมนต์ ผู้ได้ฌานไม่อิ่มด้วยวิหารสมาบัติ คือการเข้าฌาน พระเสขะไม่อิ่มด้วยการสละออกในการให้ทาน
ธรรมะเพื่อประชาชนสวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
ธรรมะเพื่อประชาชนความสุข สุขที่ควรกลัวและไม่ควรกลัว
กามคุณนี้มี 5 อย่าง คือ รูปที่รู้ได้ด้วยจักษุอันน่าปราถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่รัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด เป็นที่รู้ได้ด้วยโสต... กลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ... รสที่รู้ได้ด้วยชิวหา... โผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย อันน่าปราถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎกพรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้
ธรรมะเพื่อประชาชน