สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๒ (โคปกเทพบุตร)
การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา เป็นกรณียกิจ คือ กิจที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะเป็นกิจหลักที่จะนำพาทุกๆ คน ให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริง คือ
คำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มีข้อสังเกตเรื่องคำสอนที่ชาวพุทธเถรวาทเราควรตระหนักรู้ก็คือ
วิบากกรรมของการพูดเพ้อเจ้อ
มีดที่ลับคมดีแล้ว ถึงจะเหมือนยาพิษที่ร้ายแรง ก็ไม่ทำให้ตายสนิทในทันทีทันใดเหมือนกับคำพูดชั่ว
อัศจรรย์วันพระในเทวโลก
ตลอดเวลา 1 เดือน ตั้งแต่ข้างแรมจนถึงวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ ในทุกเขตของมนุษยโลก จะมีเจ้าหน้าที่เขตระดับภุมมเทวา ตรวจดูความดีของมนุษย์ แล้วบันทึกในแผ่นลานทอง รวบรวมนำเสนอหัวหน้าเขตภุมมเทวาตามสายการปกครอง
น้อมใจไว้ในพุทธองค์
เราได้เป็นพระราชาสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็นใหญ่ในแว่นแคว้น ยินดียิ่งในกรรมของตน นี้เป็นผลแห่งการบูชาด้วยดอกไม้ ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราโปรยดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่ ๘๐ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มียศอนันต์ สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ ก็ด้วยอานุภาพแห่งพุทธบูชานั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
สละชีวิตเป็นทาน (ปรมัตถบารมี)
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต ทุกคนพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตไม่อาจรู้ว่า
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
คิดกลับใจก็สายเสียแล้ว
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ฉะนั้น
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้