ใคร คือ เนื้อนาบุญ ?
วัจฉะ เราตถาคตกล่าวว่า ทานที่ให้แก่ผู้มีศีลมีผลมาก หาได้กล่าวอย่างนั้นในผู้ทุศีลไม่ และผู้มีศีลนั้นเป็นผู้ละองค์ 5 ประกอบด้วยองค์ 5
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - วาจาอันเป็นที่รัก
ภรรยาของบุรุษมีอยู่ ๗ จำพวก เธอเป็นภรรยาพวกไหนใน ๗ จำพวกนั้น (พระบรมศาสดาตรัสถามนางสุชาดา) แล้วภรรยา ๗ จำพวกนั้นเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง เช่น ภรรยาเยี่ยงเพชฌฆาต , ภรรยาเยี่ยงโจร ฯลฯ
โทษของการเห็นผิด
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจารณาเห็นธรรมสักอย่างหนึ่ง ที่มีโทษมากเหมือนอย่างมิจฉาทิฎฐิเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฎฐิเป็นอย่างยิ่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๔)
ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าบทธัมมจักกัปปวัตนสูตรนั้นเป็นบทพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ หลังจากที่ตรัสรู้ได้เพียง ๒ เดือน ณ.....
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - ไม่มีความเห็นผิด ชีวิตปลอดภัย
ปัจจุบันนี้ เราอยู่ในยุคข้อมูลข่าวสารไร้พรมแดน ยุคที่คนส่วนใหญ่เรียกกันว่า โลกาภิวัตน์ แม้จะอยู่ไกลกันคนละซีกโลก ก็สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารภายในเวลาไม่กี่นาที แต่ในความเป็นจริงแล้วเรายังตกอยู่ในกระแสโลกที่เรียกว่า โลกานุวัตร หมายความว่า เป็นไปตามโลก เพราะฉะนั้น สิ่งที่ควรระวังจากการรับฟังข่าวสาร คือ เมื่อได้ยินได้ฟังเรื่องใดแล้ว ควรใช้โยนิโสมนสิการ คือ พิจารณา ให้ละเอียดรอบคอบ ใช้สติและปัญญาพิจารณาเหตุผล
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - จิตสะอาดปราศจากธุลี
วันนั้นเป็นคืนเดือนหงาย พระสารีบุตรท่านเพิ่งปลงผมใหม่ๆ ก็นั่งทำสมาธิอยู่กลางแจ้ง เผอิญมียักษ์สองตนเหาะผ่านมา ยักษ์ตนหนึ่งเป็นมิจฉาทิฏฐิ ส่วนอีกตนหนึ่งเป็นสัมมาทิฏฐิ พอเห็นพระสารีบุตรนั่งอยู่อย่างนั้น ยักษ์มิจฉาทิฏฐิซึ่งในอดีตเคยผูกอาฆาตพระสารีบุตรไว้ จึงบอกกับเพื่อนยักษ์ว่า "นี่เพื่อน เราจะทุบศีรษะของสมณะองค์นี้นะ"
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๓)
ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนเล่าย้อนไปถึงพันธกิจที่สำคัญเกี่ยวกับการเดินทางไปเยี่ยมเยียนให้กำลังใจทีมงานนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)....
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๕ )
พระพี่เลี้ยงได้ยินข่าวลือว่า "พระราชาทรงฟังถ้อยคำของอาชีวกผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ จึงรับสั่งให้รื้อโรงทานที่ประตูเมืองทั้งสี่ บัดนี้ทรงมัวเมาแต่เบญจกามคุณ มิได้สนพระทัยในพระราชกรณียกิจเลย"
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - พูดดีเป็นศรีแต่ตัว
เรื่องราวของนายพรานผู้เป็นบัณฑิต ที่ถูกลูกเศรษฐีทั้ง ๔ คน มาขอชิ้นเนื้อที่ตนหามาได้ โ็ดยที่ลูกเศษฐีจะผลัดกันเข้ามาขอทีละคน ดูว่าใครจะได้เนื้อส่วนไหน แล้วนายพรานได้ใช้วาจาที่ลูกเศรษฐีแต่ละคนพูดนั้นเป็นเครื่องตัดสินว่าจะให้ส่วนใดของชิ้นเนื้อ หลังจากเหตุการณ์นี้ผ่านพ้นไป นายพรานพร้อมครอบครัวถึงกับได้เข้าไปอยู่ที่คฤหาสน์ เพราะด้วยวาจาของตน