อุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 68 ปี พระเทพญาณมหามุนี
การบวช เป็นการยกฐานะจากผู้นับถือพระรัตนตรัย ขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัยเป็นหนทางสู่พระนิพพานการบวชเป็นสิ่ง ที่กระทำได้ยาก กว่าจะมีการ บวช ต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบหลายประการ
จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
โครงการอบรมอุบาสิกาแก้ว บรมพุทโธ อินโดนีเซีย Upasika Ratana Borobudur 2024
สมาคมพุทธมหานิกายอินโดนีเซีย (MBMI) สมาคมวาลูบี้ สหภาพพระธรรมทูตไทยในอินโดนีเซีย-แอฟริกา และวัดพระธรรมกาย จัดโครงการอบรมอุบาสิกาแก้ว บรมพุทโธ อินโดนีเซีย Upasika Ratana Borobudur 2024
อุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 68 ปี พระเทพญาณมหามุนี สัมภาษณ์ วันสุดท้าย วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555
อุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 68 ปี พระเทพญาณมหามุนี สัมภาษณ์ วันสุดท้ายวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555สมัครบวช โทร.:08-6971-9000, 02-8311000
อรูปภพ
คำว่าอรูปพรหม ไม่ได้หมายความว่า พรหมผู้ไม่มีรูปร่าง ท่านมีรูปกาย มีความสวยงามยิ่งกว่าพรหมในรูปภพเสียอีก ท่านสง่างามกว่า และประณีตกว่า เพราะท่านได้กายที่ใกล้เคียงลักษณะมหาบุรุษเข้าไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกายที่สมบูรณ์แบบที่สุด ถ้าสูงขึ้นไปจากอรูปภพก็จะเป็นอายตนนิพพาน เหมือนคำว่าอมนุษย์ ไม่ได้หมายว่าไม่มีมนุษย์ เพียงแต่ว่าไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง อรูปพรหมก็ไม่ได้หมายความว่าไม่มีรูปพรหม แต่แปลว่า ไม่ใช่รูปพรหม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๔)
ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าบทธัมมจักกัปปวัตนสูตรนั้นเป็นบทพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ หลังจากที่ตรัสรู้ได้เพียง ๒ เดือน ณ.....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๙)
เมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผู้เขียนและคณะได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมทางวิชาการและร่วมพิธีฉลองการเปิดอาคารอเนกประสงค์ของวัดต้าฝอซื่อ ที่เมืองกว่างโจวสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจัดโดยภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น ร่วมกับวัดต้าฝอซื่อ
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด