มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - เคารพกันตามลำดับ
พระพุทธองค์ได้ตรัสถึงอานิสงส์ของผู้มีความเคารพว่า บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรีก็ตาม บุรุษก็ตาม เป็นคนไม่กระด้าง ไม่เย่อหยิ่ง กราบไหว้คนที่ควรกราบไหว้ ลุกรับคนที่ควรลุกรับ ให้อาสนะแก่คนที่สมควรแก่อาสนะ ให้ทางแก่คนที่สมควรแก่ทาง สักการะคนที่ควรสักการะ เคารพคนที่ควรเคารพ นับถือคนที่ควรนับถือ บูชาคนที่ควรบูชา
การเจริญมรณานุสติ
ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ทั้งคนโง่และคนฉลาด ทั้งคนจนและคนรวย ล้วนบ่ายหน้าไปหามฤตยูทั้งสิ้น
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำบุญก่อนได้ก่อน
หากเราปรารถนาความสุขความสำเร็จ เพื่อส่งผลให้เราไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เราต้องรู้จักวิธีที่จะให้ได้สิ่งเหล่านั้นก่อน วิธีการนั้น พระบรมศาสดาท่านแนะนำให้สั่งสมบุญ เพราะหากเรายังไม่เข้าถึงพระธรรมกายภายใน ยังมองไม่เห็นบุญ แม้จะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่สัมผัสได้ด้วยใจ บุญเป็นธาตุสำเร็จที่คอยอำนวยสิ่งที่ดีงาม ดลบันดาลความสุขความสำเร็จในชีวิตให้บังเกิดขึ้น
สวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
ปัตติทานมัย : เอาบุญมาฝากนะครับ/คะ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - บัณฑิตผู้แสวงหาทางพ้นทุกข์
ในขณะนั้นเอง ดวงตาเห็นธรรมได้บังเกิดขึ้นกับท่านอชิตะ และท่านได้ทูลถามถึงข้อควรปฏิบัติ โดยกล่าวถามอย่างชาญฉลาดว่า "ชนผู้ได้เห็นธรรมแล้ว และชนผู้ยังต้องศึกษาอยู่ สองพวกนี้มีอยู่ในโลกเป็นอันมาก พระองค์มีปัญญาแก่กล้า ขอทรงโปรดตรัสบอกวิธีการปฏิบัติแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด"
บวช 5 วันไม่ได้อะไร ถ้าจะให้สะใจบวชให้ได้อะไร ต้องบวช 1 พรรษา
เชิญชายไทยบวชเข้าพรรษา ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. - 7 พ.ย. 2554 ในโครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษาหนึ่งแสนรูปทุกหมู่บ้านทั่วไทย
ปรโลกนิวส์ ของทีมชนะสกุลนิยม ตอนที่ 6
โยมพ่อของลูกไปบังเกิดเป็นเทพบุตรภุมมะเทวาระดับกลาง มีวิมานไม้ซ้อนอยู่กับบ้านของท่านในเมืองมนุษย์ ตัวท่านพยายามหาโอกาสติดต่อสื่อสารกับโยมแม่ของลูกและลูกๆ ของท่าน
ผู้หญิงจะงามหรือไม่งาม
มาตุคามบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ มากไปด้วยความแค้นใจถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ขัดเคืองฉุนเฉียว กระฟัดกระเพียด กระด้างกระเดื่อง แสดงความโกรธความขัดเคือง
วิถีชาวพุทธ ในยุค “ข้าวยากหมากแพง”