ความสุขของพระโสดาบัน
ความทุกข์ที่หมดไปของอริยสาวกผู้สมบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิ บรรลุอริยมรรคแล้ว มีปริมาณมาก ส่วนความทุกข์ที่ยังเหลืออยู่ มีประมาณน้อย ความทุกข์ที่จะมีอีก ๗ อัตภาพเป็นอย่างยิ่งนั้น เมื่อเทียบกันเข้ากับกองทุกข์ที่หมดสิ้นไปอันมีอยู่ในครั้งก่อนแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑,๐๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐,๐๐๐ เลย ภิกษุทั้งหลาย การได้บรรลุอริยธรรม ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้แล การได้ธรรมจักษุ ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - เส้นทางที่เลือกเดิน
คนเหี้ยมโหดมีมือเปื้อนเลือดชอบฆ่าสัตว์ - เขาก็จะเป็นคนมีอายุสั้น คนที่ไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากปาณาติบาต - เขาจะมีอายุยืน โรคภัยไข้เจ็บไม่เบียดเบียน
บุปผรัตตชาดก ชาดกว่าด้วยเป็นทุกข์เพราะภรรยาไม่ได้ผ้าย้อมดอกคำ
เมื่อทหารพาตัวชายผู้เป็นสามีมาถึงที่ ก็พาเขาไปเสียบที่หลาว เขาได้รับเวทนาแสนสาหัส ฝูงกาพากันไปเกาะที่ศีรษะ จิกนัยน์ตาด้วยจะงอยปากอันคมเหมือนปลายคีม ชายผู้นี้ไม่ได้ใส่ใจทุกขเวทนาที่ได้รับแม้แต่น้อย เขายังคงเฝ้าคิดถึงแต่หญิงอันเป็นที่รักเท่านั้น
วางเฉยหรือหนีความจริง
คำถาม : การที่เราทำเฉยกับทุกเรื่องที่ทำให้เราเป็นทุกข์ ถือว่าเราหนีความจริงหรือเปล่าคะ
The Noble Truth of Suffering : 5. Sorrow [soka dukkha]
The Buddha characterized the suffering of sorrow as afflicting one with burning in the heart as if the mind has list all refreshedness
ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์
ขั้นตอนการชดใช้กรรมของผู้ผิดศีลกาเมฯ ตอน ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์ ความเดิมจากตอนที่แล้ว เมื่อวิบากกรรมเบาบางจากเปรต อสุรกาย ก็มาต่อด้วยการเป็นสัตว์เดรัจฉาน เริ่มต้นจากสัตว์ชั้นต่ำ
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 22
จากนั้นก็ทรงมีพระราชดำรัสสั่งให้เปิดท้องพระคลังทั้งหมด และให้จารึกแผ่นทองคำติดไว้ ณ เสาท้องพระโรงว่า “ผู้ใดต้องการทรัพย์สมบัติเงินทองของมีค่า ก็จงมาขนเอาไปจากท้องพระคลังหลวงนั้นเถิด”
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ละตัณหาได้ ไม่ต้องเกิดอีก
ครั้นพระบรมศาสดาทรงแก้ปัญหาจบลงแล้ว พราหมณ์ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม ไม่ได้บรรลุอรหัตผล ได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผลเท่านั้น เพราะเวลาฟังพยากรณ์ปัญหา มีจิตฟุ้งซ่าน คิดถึงลุงผู้เป็นอาจารย์ว่า ลุงของเราหาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาอันลึกซึ้งไพเราะอย่างนี้ไม่ อาศัยความกังวลที่มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความรักใคร่ในลุง จึงไม่อาจทำให้สิ้นอาสวะในตอนนั้นได้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - บัณฑิตผู้แสวงหาทางพ้นทุกข์
ในขณะนั้นเอง ดวงตาเห็นธรรมได้บังเกิดขึ้นกับท่านอชิตะ และท่านได้ทูลถามถึงข้อควรปฏิบัติ โดยกล่าวถามอย่างชาญฉลาดว่า "ชนผู้ได้เห็นธรรมแล้ว และชนผู้ยังต้องศึกษาอยู่ สองพวกนี้มีอยู่ในโลกเป็นอันมาก พระองค์มีปัญญาแก่กล้า ขอทรงโปรดตรัสบอกวิธีการปฏิบัติแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด"