ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 20
“ใครหนอเป็นผู้แนะนำธรรมะสั่งสอนพระองค์ ถ้อยคำอันสะอาดนี้ เป็นถ้อยคำของใคร ดูก่อนพระองค์ผู้เป็นจอมทัพ เพราะข้าพระองค์มิเคยเห็นพระองค์ได้ตรัสกับสมณะผู้มีวัตรปฏิบัติก้าวล่วง ทุกข์ ซึ่งแนะนำหนทางสู่ความหลุดพ้นแก่พระองค์เลย”
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางหมด ก็หมดทุกข์
ชายหนุ่มเจ้าชู้คนหนึ่งได้แลเห็นพระเถรี ผู้กำลังเดินผ่านไปยังชีวกัมพวันวิหารอันน่ารื่นรมย์ ได้ถูกกามราคะครอบงำ คือ มีจิตปฏิพัทธ์ในพระเถรีขึ้นมา ได้ออกไปยืนขวางทางแล้วกล่าวคำเชื้อเชิญให้พระเถรียินดีในกามารมณ์ อนาคามีเถรีผู้ไม่มีจิตยินดีในกามารมณ์ เห็นอย่างนั้น ก็กล่าวว่า "เราทำผิดอะไร ท่านถึงมายืนขวางทางเรา ท่านเป็นคนไม่บริสุทธิ์ ไม่ควรถูกต้องหญิงนักบวชเช่นเราผู้บริสุทธิ์ด้วยสิกขา ที่พระสุคตเจ้าทรงแสดงไว้ดีแล้ว
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - เผชิญหน้าพญามัจจุราช
พระเถระได้อนุโมทนาในกุศลจิตของพระกุมาร แต่เมื่อตรวจดูอายุสังขารของพระกุมารแล้ว ได้บอกว่า พระกุมารจะมีชีวิตอยู่เพียง ๕เดือนเท่านั้น แม้ได้ทราบความนั้น พระราชกุมารก็ไม่ท้อใจ เพราะเข้าใจดีว่า คงเป็นกรรมในอดีตตามมาส่งผล ก็ไม่ได้หวาดหวั่นพรั่นพรึงอะไร จึงถามพระเถระถึงวิธีการที่จะหลุดพ้นจากความตาย
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
ทุกข์ในอเวจีมหานรก
ความดี คนดีทำได้ง่าย แต่คนชั่วทำได้ยาก ความชั่ว คนชั่วทำได้ง่าย แต่คนดีทำได้ยาก
ภัทรกัป
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้มีพระจักษุ มีพระสิริ พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั่วหน้า ขอนอบน้อมแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้ทรงชำระกิเลส มีความเพียร พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ทรงย่ำยีมารและเสนามาร พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้พ้นพิเศษแล้วในธรรมทั้งปวง และขอนอบน้อมแด่พระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้เป็นศากยบุตร
"กรรมบำบัด..บำบัดกรรม"หนทางเยียวยาใจให้พ้น "ทุกข์"
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
จงดับทุกข์ด้วยการรักษาจิตให้มั่นคง
ความจริง ความสุขในชีวิตนั้นหาไม่ยาก ถ้าหากรู้ จักระวังรักษาจิตให้ดี โดยมิให้ยึดเกาะ หรือ ยอมตกเป็นทาสกิเบสตัณหาอารมณ์ต่างๆ
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น