ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 79
ครั้นได้รู้ว่าต่างคนต่างก็มาด้วยวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน อาจารย์กามินทะจึงเงียบเสียง ปล่อยให้อาจารย์เสนกะบ่นงึมงำไปคนเดียว “อืมม... หนึ่งคน สองคน สามคน นี่สามคนแล้ว รออีกหน่อย เดี๋ยวก็คงครบชุดแน่ๆ” อาจารย์เสนกะยังไม่ทันกล่าวจบ ร่างของอาจารย์เทวินทะก็ร่วงหล่นลงมากลางวง เสียงร้องอึกทึกก็ดังขึ้นอีก
วันนี้เป็นวันที่สามของการเข้าพรรษา : มืด เมื่อย ฟุ้ง
วันนี้เป็นวันที่ 3 ของการเข้าพรรษา พระเห็นพระ เณรเห็นพระ โยมเห็นพระ เวลาเรานั่งหลับตาแล้วมืดเหมือนมองไม่เห็นอะไรเลย เราก็จะมีความรู้สึกว่า ความมืดเป็นอุปสรรคและเป็นปรปักษ์กับใจของเรา แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่ เพราะความมืดก็เป็นเพียงปรากฏการณ์ธรรมดาของโลก เหมือนโลกภายนอกก็ต้องมีความมืด มีห้องมืด
วันนี้วันที่สิบเก้าของการเข้าพรรษา : รหัสผ่านสู่วงบุญพิเศษ
ถ้าตั้งความปรารถนาจะไปดุสิตบุรี วงบุญพิเศษ ตัวเราก็ต้องให้พิเศษแตกต่างจากปกติของมนุษย์ธรรมดาพิเศษ คือ จะต้องเข้าถึงพระธรรมกาย มีพระธรรมกายปรากฏชัดใสแจ่มอย่างนี้ แม้พระธรรมกายจะมีอยู่ในตัวทุกคน แต่ถ้ายังเข้าไม่ถึง มีก็เหมือนไม่มี เหมือนน้ำใต้ดิน เรารู้ว่ามีน้ำใต้ดิน แต่ถ้าไม่เจาะไม่ขุดไปให้ถึงก็ไม่ได้น้ำมาดื่มมาใช้ พระธรรมกายในตัวก็เช่นเดียวกัน แม้มีอยู่แต่ถ้าหากยังเข้าไปไม่ถึงก็เอามาใช้ไม่ได้
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 1 (ตอนพรหมและเทวาโกลาหล)
พระอาทิตย์ ย่อมส่องแสงในเวลากลางวัน พระจันทร์ย่อมส่องแสงในเวลากลางคืน กษัตริย์เมื่อทรงเครื่องรบแล้วย่อมรุ่งเรือง พราหมณ์ผู้มีความเพ่งเพียร ย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระพุทธเจ้า ย่อมรุ่งเรืองด้วยเดชตลอดทั้งกลางวัน และกลางคืนทั้งหมด
บุคคลผู้ทรงธรรม
เมื่อใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์ย่อมสิ้นไป เพราะมารู้ชัดธรรมพร้อมทั้งเหตุ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 110
เมื่อ ได้ทราบถึงสิ่งของอันเป็นที่ต้องพระทัยของพระราชาทั้ง ๑๐๑ พระองค์แล้ว มโหสถบัณฑิตจึงได้มอบหมายให้ช่างวังหลวงทำเครื่องราชูปโภคต่างๆขึ้นมา เป็นกุณฑลบ้าง ฉลองพระบาทบ้าง พระขรรค์บ้าง สุวรรณมาลาบ้าง ตามแต่พระราชาเหล่านั้นจะทรงโปรดปราน
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๕ (พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น