มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - ผู้คู่ควรแก่ความกตัญญู
ภาพคนแก่ คนเจ็บ คนตายเหล่านี้ เป็นภาพที่มนุษย์ทั้งหลายเห็นกันอยู่เป็นปกติ เห็นแล้วรู้สึกเฉยๆ เห็นแล้วไม่คิดต่อ แต่พระองค์คิดหาหนทางที่จะออกจากความทุกข์ อีกทั้งมีความเชื่อมั่นอยู่ในใจลึกๆ ว่า หนทางที่จะพ้นจากความทุกข์นั้นต้องมี ท่านคิดอย่างนั้นแล้วจึงแสวงหาหนทางแห่งความพ้นทุกข์เรื่อยมา
อปจายนมัย : หนทางสู่ความรุ่งโรจน์
อปจายนมัย มาจากศัพท์ว่า อป (ปราศ,หลีก) จายะ (ให้เกียรติ, เคารพ, บูชา, สักการะ) มยะ (สำเร็จ, เกิดจาก) รวมความว่า บุญที่เกิดจากการนอบน้อมหรือเคารพบูชาผู้ใหญ่ที่มีคุณธรรม ที่เป็นบุญเพราะผู้มีความอ่อนน้อมย่อมมีจิตที่อ่อนโยน ไม่แข็งกระด้าง ซึ่งเกิดจากการพิจารณาเห็นคุณธรรมความดีของผู้ใหญ่ที่อุดมด้วยวัยวุฒิคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถ และมีศีลมีธรรม
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ผลแห่งการฟังธรรม
การบรรลุธรรมต้องอาศัยการสั่งสมความ รู้ คู่กับความบริสุทธิ์ ซึ่งเราจะบริสุทธิ์ได้ด้วยใจที่หยุดนิ่ง และลงมือปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง เมื่อปฏิบัติถูกส่วนก็จะเข้าถึงธรรมได้โดยง่าย ดังนั้นการฟังธรรมแม้จะเป็นบทเดิมๆ แต่ธรรมะทุกบทสามารถขัดเกลาจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสได้ และจะเป็นพลวปัจจัยส่งเสริมให้ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป
กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิเพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก
ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ก็สร้างบุญใหญ่ได้ทั่วโลก "กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิเพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก" ประจำปีพุทธศักราช 2558
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - อย่าลบหลู่คุณท่าน
เขาคิดว่า ถ้าเราบอกว่าเรียนมาจากคนจัณฑาล ก็จะได้รับความอับอาย และเสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง คนอื่นจะไม่นับหน้าถือตา และยังจะถูกมหาชนดูถูกดูหมิ่นเอาอีกด้วย จึงกราบทูลว่าเรียนมาจากสำนักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์ พร้อมๆกับที่เขากล่าวมุสา มนต์ก็เสื่อมในทันทีโดยที่เขาไม่รู้ตัว
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
กระแสแห่งเมตตาจิต
ผู้ใดผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมไม่สงบระงับ ส่วนผู้ใดไม่ผูกอาฆาตว่า เขาได้ด่าเรา เขาได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา หรือได้ลักขโมยของเราไป เวรของผู้นั้นย่อมสงบระงับ
ศาสดาเอกของโลก (5)
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมดับหายไป เพราะมารู้ชัดธรรมพร้อมทั้งเหตุ...