95 ปี วิชชาธรรมกาย
คำว่า “ธรรมกาย” มีการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เมื่อพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ได้ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาจนได้บรรลุธรรมกาย เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี พ.ศ. 2460 ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
ข่าวโครงการดวงตะวันสันติภาพ จัดปฏิบัติธรรมนานาชาติ
โครงการดวงตะวันสันติภาพ จัดปฏิบัติธรรมนานาชาติ เพื่อเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติได้ฝึกสมาธิ
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
วัดพระธรรมกายไรน์แลนด์ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายไรน์แลนด์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี
ธรรมทายาทหญิง นานาชาติ
ตามที่คุณครูไม่ใหญ่ (พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์) มีดำริในการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นแก่โลก ด้วยการจัดโครงการส่งเสริมคุณธรรมต่างๆมากมาย โดยเฉพาะในด้านการอบรมเยาวชน
กำหนดการธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญพระบรมธาตุ ฉลองวิสาขบูชาโลก
กำหนดการธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญพระบรมธาตุ ประดิษฐาน ณ พุทธอุทธยาน นานาชาติ จ.หนองคาย ฉลองวิสาขบูชาโลก
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
โครงการปฏิบัติธรรมนานาชาติ 7 วัน ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมมุกตะวัน
กองปฏิบัติธรรมนานาชาติ เดอะมิดเดิ้ลเวย์ เมดิเทชั่น ได้จัดโครงการปฏิบัติธรรมนานาชาติ 7 วัน
วันธรรมชัย 27 สิงหาคม วันแห่งการประกาศชัยชนะ
วันธรรมชัย คือ วันอุปสมบทของหลวงพ่อธัมมชโย วัดพระธรรมกาย คำว่า “ธรรมชัย” มาจากฉายาของหลวงพ่อธัมมยโชที่ได้รับในวันอุปสมบท มีความหมายว่า "ผู้ชนะโดยธรรม"
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม