เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๖)
ธรรมดาพวกมนุษย์ ย่อมไปสู่สำนักของพวกมนุษย์ พวกโคก็ไปสู่ฝูงโค บรรพชิตก็ไปสู่สำนักของบรรพชิต บัณฑิตก็เข้าไปหาพวกบัณฑิต
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - ผู้อยู่้ใกล้พระรัตนตรัย
"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันขอกราบนิมนต์พระองค์พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ เพื่อฉันภัตตาหารเช้าในวันรุ่งขึ้น ด้วยสัญญาณของหม่อมฉันนี้ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเถิดว่า พระองค์เป็นผู้อันหม่อมฉันนิมนต์ไว้แล้ว"
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - บุญต้อนรับผู้ทำความดี
อุบาสกซึ่งเป็นผู้เคารพในธรรม เมื่อกำลังฟังธรรมอยู่ ก็ไม่อยากให้การฟังธรรมหยุดชะงักไป จึงได้กล่าวกับเทวดาทั้งหลายว่า ขอท่านจงรอก่อนๆ พระ ภิกษุซึ่งกำลังสวดสาธยายธรรมอยู่ เข้าใจว่าอุบาสกให้หยุด จึงได้หยุดสวดและปรึกษากันวา คงไม่เป็นโอกาสเหมาะในการสาธยายธรรมเสียแล้ว ดังนั้นลุกจากอาสนะแล้วเดินทางกลับวัด ฝ่ายบุตรและธิดา ของเขานึกว่าพ่อห้ามพระสวดมนต์ก็รู้สึกเสียใจ
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ตัดอาลัยไปนิพพาน
แล้วเหตุการณ์สำคัญในชีวิตนางภิกษุณีผู้เป็นมารดาก็เกิดขึ้น คือ นับตั้งแต่พระกุมารได้แยกจากนางไปถึง 12ปีนั้น นางได้แต่ร้องไห้ด้วยความคิดถึงบุตร มีความทุกข์เพราะความพลัดพราก ใบหน้าชุ่มไปด้วยน้ำตา วันหนึ่ง ขณะที่นางกำลังเดินบิณฑบาตอยู่นั้น ได้เห็นพระกุมารกัสสปะในระหว่างทางจึงดีใจร้องเรียกลูก แล้ววิ่งเข้าไปหาแต่ได้เซล้มลง
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 4 (ตอนพระพุทธเนรมิต)
เราเป็นผู้ครอบงำธรรม ได้ทั้งหมด รู้ธรรมทุกอย่าง ไม่ติดอยู่ในธรรมทั้งปวง ละธรรมอันเป็นไปในภูมิสามได้ทุกอย่าง พ้นแล้วในธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา รู้เองแล้ว จะพึงอ้างใครเล่า ว่าเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์
พระมหากัจจายนเถระ
หากว่าบุรุษพึงทำบุญไซร์ ก็ควรทําบุญนั้นให้บ่อยๆ ควรทําความพอใจในบุญนั้น เพราะการสั่งสมบุญเป็นเหตุนําความสุขมาให้
พระเจดีย์จุฬามณี
ใครๆ ไม่อาจนับบุญของบุคคลผู้บูชาอยู่ซึ่งท่านผู้ควรบูชา คือพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกทั้งหลาย ผู้ก้าวล่วงปปัญจธรรมเครื่องเนิ่นช้าได้แล้ว ผู้มีความเศร้าโศก และความคร่ำครวญอันข้ามพ้นแล้ว หรือว่าของบุคคลผู้บูชาอยู่ ซึ่งท่านผู้ควรบูชาเหล่านั้น ผู้นิพพานแล้ว ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ ด้วยการนับแม้วิธีใดๆ ก็ตาม ว่าบุญนี้มีประมาณเท่าใด
สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๒ (โคปกเทพบุตร)
การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา เป็นกรณียกิจ คือ กิจที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะเป็นกิจหลักที่จะนำพาทุกๆ คน ให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริง คือ
ทุกข์ในอเวจีมหานรก
ความดี คนดีทำได้ง่าย แต่คนชั่วทำได้ยาก ความชั่ว คนชั่วทำได้ง่าย แต่คนดีทำได้ยาก