มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ของแท้ของเทียม
วันรุ่งขึ้น เมื่อนิครนถ์ ๕๐๐ คน มาถึง สิริคุตต์ออกไปต้อนรับ พลางนึกในใจว่า "หากนิครนถ์เหล่านี้เป็นผู้รู้จริง จงอย่าเข้ามาในเรือน เพราะในเรือนนี้ไม่มีภัตตาหาร มีแต่หลุมคูถ"
ลูกผู้ชายอย่างเรา ฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง
ผมอดีตธรรมทายาทรุ่นบูชาธรรม 100 ปีคุณยายอาจารย์ “บัณฑิต ตระกูลคูศรี” ขอรายงานตัวกับหลวงพ่อในฐานะที่ผ่านการอบรมเป็นบัณฑิตทั้งทางโลกและทางธรรม ครับ แม้ผมจะเป็นแมนเต็มตัวไม่เคยกลัวใครประเภท “เทียนปู๋พ่า ตี้ปู๋พ่า” คือฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง จะกลัวอย่างเดียวคือบวชที่วัดพระธรรมกายนี่แหละ มันกังวลคิดไปสารพัด ทั้งห่วงงาน ทั้งห่วงครอบครัว ทั้งกลัวติดใจเดี๋ยวอยู่ยาวแบบที่เค้าชอบลือกัน
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้ชี้หนทางสว่าง
เรื่องมีอยู่ว่า พระเจ้าพรหมทัต ท่านหลงผิด ไปติดใจในการเสวยเนื้อมนุษย์ จึงทำบาปกรรมจนถูกเนรเทศออกไปจากเมือง พระองค์ได้ไปอาศัยอยู่ใต้ต้นไทรในป่า เปลี่ยนชื่อเป็น โจรโปริสาท คอยดักฆ่าคนที่เดินทางผ่านมา แล้วเอาเนื้อมากิน จนข่าวนี้ลือกันไปทั่วชมพูทวีป
ประมุกของผู้หวังบุญ
ยัญทั้งหลายมีการบูชาไฟเป็นประมุขคัมภีร์สาวิตศาสตร์ เป็นประมุขแห่งคัมภีร์ฉันทฺ์พระราชาเป็นประมุขของมนุษย์ทั้งหลายสาครเป็นประมุขของแม่น้ำทั้งหลาย
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - ไม่ควรคบคนพาล
แม้ลูกสิงโต จะถูกลูกธนูยิงทะลุเช่นนั้น มันก็ยังอดทนข่มความเจ็บปวด ไม่ยอมทิ้งม้าลงจากหลัง วิ่งต่อไปจนกระทั่งมาถึงถ้ำ เมื่อมาถึงหน้าถ้ำก็สลัดม้าลง แล้วก็สิ้นใจตาย หมู่ญาติพากันออกมาดู สิงโตโพธิสัตว์จึงกล่าวเตือนใจว่า ผู้คบสัตว์ที่เลวเป็นปกติ จะไม่ประสบความสุขโดยส่วนเดียว จงดูมโนชะผู้นอนตายเถิด ผูเชื่อฟังคำของสุนัขจิ้งจอกเจ้าเล่ห์
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป
เป้าหมายสูงสุดของชีวิต
ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรงจำ เรากล่าวว่า เป็นบัณฑิต เพราะการยึดได้ซึ่งประโยชน์ในทิฏฐธรรม และประโยชน์ในสัมปรายภพ
เมื่อบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท
เมื่อใดบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท เมื่อนั้นเขานับว่าได้ขึ้นสู่ "ปราสาทคือปัญญา" ไร้ความเศร้าโศก สามารถมองเห็นประชาชน ผู้โง่เขลา
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๘ ( ผดุงคุณธรรม )
บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่งของต้นไม้นั้นเพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นผู้ชั่วช้า ข้าแต่มหาราชเจ้า ถ้าบุคคลหักกิ่งต้นไม้ที่ตนได้บริโภคชื่อว่าเป็นผู้ประทุษร้ายมิตรไซร้ ผู้ที่ประทุษร้ายต่อผู้มีพระคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม จะเป็นคนเช่นไรเล่า