มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๙)
พระเจ้าอังคติราชสดับเช่นนั้นแล้ว เกิดความสลดสังเวช กลัวที่จะต้องไปบังเกิดในมหานรก จึงตรัสว่า "บัด นี้ ข้าพเจ้าแทบจะล้มเหมือนต้นไม้ที่ถูกตัด ข้าพเจ้าหลงผิดจึงไม่รู้จักทิศ ท่านฤๅษี ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เสมือนกับน้ำดื่มแก้กระหายในเวลากระหายน้ำ ขอท่านจงเป็นเหมือนเกาะเป็นที่อาศัยในห้วงมหาสมุทร และขอท่านจงเป็นเหมือนประทีปส่องสว่างในที่มืดของข้าพเจ้าด้วยเถิด
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๘)
เพราะกรรมเจ้าชู้ที่หม่อมฉันเคยทำไว้นั้นตามมาทัน คือ หลังจากหม่อมฉันจุติจากตระกูลเศรษฐีนั้นแล้ว ก็ไปหมกไหม้อยู่ในโรรุวมหานรกเป็นเวลายาวนาน ได้รับความทุกข์อันแสนสาหัส ไม่มีความสุขแม้เพียงครู่เดียว ครั้นพ้นจากมหานรกแล้ว ได้เกิดเป็นลาที่ต้องถูกตอน และถูกใช้งานตลอดชีวิต
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๗ ( ความจริงปรากฏ )
ครั้นเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตรของพระราชา ไม่ได้สดับธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์หลายวัน และรู้ว่ามโหสถถูกกลั่นแกล้ง คนดีเทวดาต้องคุ้มครองรักษา พระราชาพระองค์นี้เป็นคนหูเบา มีปัญญาน้อย ไม่รู้จักเลือกใช้คนให้เป็น อาศัยกินบุญเก่าเท่านั้นถึงได้มาบังเกิดเป็นพระราชา เทวดาจึงคิดหาวิธี ที่จะให้มโหสถกลับมาอยู่ในราชสำนักตามเดิม เพื่อตนจะได้ฟังธรรมของมโหสถอีก
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๒ ( พระนางผุสดีขอพร ๑๐ ประการ )
ข้าพระพุทธเจ้าได้ทำการบูชาพระองค์ด้วยจุณแห่งแก่นจันทน์นี้ ขอให้ข้าพระพุทธเจ้าได้เป็นมารดาของพระพุทธเจ้าผู้เช่นพระองค์ในอนาคตกาล
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑ ( ปฐมเหตุ )
พระบรมโพธิสัตว์ได้ดำรงตนเป็นแบบอย่างนักสร้างบารมี ตั้งแต่ประสูติจากพระครรภ์ของพระมารดา ก็แบพระหัตถ์ออก และกล่าวกับพระมารดาว่า"เสด็จแม่ มีสิ่งใดให้ลูกได้ทำทานบ้าง" นี่..พระองค์เกิดมาเพื่อการนี้ เพื่อบ่มบารมีให้แก่รอบ ครั้นพระชนมายุได้เพียง ๘ ชันษา ประทับอยู่บนปราสาทตามลำพัง ทรงคิดที่จะบริจาคทานว่า "เราพึงให้หัวใจ ดวงตา เนื้อ เลือด และร่างกายที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ หากใครมาขอเรา ให้เราได้ยิน เราก็จะพึงให้ด้วยความยินดี"
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตนได้ ผู้อื่นเสีย ก็ไม่พูด
การได้ประโยชน์เป็นสิ่งสำคัญ แต่มีบางถ้อยคำแม้เราได้ประโยชน์ก็ไม่ควรพูด ถ้อยคำที่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน แม้เราจะได้ประโยชน์ก็ไม่สมควรพูด
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : บอกกล่าวเล่าทุกข์
ผู้ใดพอใครถามถึงเรื่องทุกข์ของตน ก็บอกเขาเรื่อยไป ทั้งที่ไม่ใช่กาลอันควร ผู้นั้นจะมีแต่มิตรชนิดเจ้าสำราญ ส่วนผู้หวังดีต่อเขาก็มีแต่ทุกข์
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
น ปเรสํ วิโลมานิ น เปรสํ กตากตํ อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย กตานิ อกตานิ จ ไม่ควรใส่ใจคำ แสลงหูของผู้อื่น ไม่ควรแส่มองธุระที่เขาทำ และยังไม่ทำ ควรตั้งใจตรวจตราหน้าที่ของตนนี้แหละ ทั้งที่ทำ แล้วและยังไม่กระทำ
คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรเสพ ควรคบเป็นมิตร ความเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม 7 ประการเป็นไฉนคือ....