มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ครั้งหนึ่งในชีิวิตของลูกผู้ชาย
"ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มีภัตรหนเดียว ต้องนอนผู้เดียวตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ท่านเป็นคฤหัสถ์อยู่ในเรือน จงหมั่นประกอบพรหมจรรย์อันมีภัตรหนเดียว นอนผู้เดียว ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด" แม้พระอาจารย์จะทักเช่นนี้ แต่ด้วยมโนปณิธานอันแน่วแน่ที่จะบวชให้ได้ ท่านเพียรเข้าไปขออนุญาตพระเถระถึง ๓ครั้ง
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา
ดังเช่นในสมัยพุทธกาล เหล่าทวยเทพในสวรรค์จะลงจากเทวโลก เพื่อมาฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านถือว่าการมาฟังธรรมเป็นกรณียกิจที่สำคัญ เทวดาแต่ละองค์ที่ลงจากเทวโลกในยามราตรี ต่างไม่มาเปล่า ไม่ใช่เตรียมมาฟังธรรมอย่างเดียว ท่านจะเตรียมคำถามที่ดีๆไว้อย่างน้อย ท่านละ ๑คำถาม เพื่อนำมาทูลถามพระพุทธองค์
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - มองโลกในแง่ดี
การสร้างบารมีในสภาวะปัจจุบันนี้ เราต้องคบค้าสมาคมกับบุคคลต่างๆ มากมาย ซึ่งต่างจิตต่างใจ ต่างอัธยาศัยกัน มีทั้งคนพาลและบัณฑิตปะปนกันอยู่ บางครั้งอาจจะมีอุปสรรคบ้าง แต่ก็อย่ายอมแพ้ ให้สู้ต่อไป สู้ด้วยธรรมสู้ด้วยความถูกต้องดีงาม เพราะเราปรารถนาจะช่วยเหลือชาวโลกให้พ้นจากความทุกข์
มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - ทางมาแห่งปัญญาบารมี
จากเรื่องนี้ จะเห็นได้ว่า ขนาด พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นบรมศาสดาเอกของโลก ก็ยังทรงเคารพพระธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะความเคารพในธรรมเป็นทางมาแห่งความเจริญรุ่งเรือง ไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อม ในพระไตรปิฎกมีหลายสูตรที่พระพุทธองค์ตรัสเรื่องความเคารพไว้ ทรงสั่งสอนทั้งแก่ภิกษุภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา และเหล่าเทวดา ไม่ว่าจะเป็นการเคารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพในพระสงฆ์ เคารพในการศึกษา เคารพในสมาธิ เคารพในความไม่ประมาท และเคารพในการปฏิสันถาร
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 81
เหตุการณ์ในครั้งนี้ ดูเหมือนว่ามโหสถจะสิ้นปัญญาที่จะแก้ไขปัญหาด้วยตนเองอย่างสิ้นเชิง แต่ความจริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ ที่ท่านต้องหนีไปก่อนนั้น เพราะต้องการให้เกิดการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ซึ่งเมื่อตนหลบไปก่อนแล้ว พระราชาก็จะไม่ระแวงในกำลังคนของตน และในไม่ช้าความจริงก็ต้องปรากฏ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - พระิอินทร์มาเตือนสติ
ู้ประพฤติผิดศีลผิดธรรม ไม่เลี้ยงดูบิดามารดา เป็นคนอกตัญญู ดูหมิ่นผู้มีพระคุณ คนเหล่านี้แหละที่เป็นศัตรูของเรา สุนัขดำจะเคี้ยวกินผู้ที่ไม่มีจิตเมตตา ชอบรังแกเบียดเบียนผู้อื่น ไม่ประกอบ สัมมาอาชีวะ ประพฤติผิดในกาม แสวงหาความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่น หมกมุ่นอยู่ในอบายมุข โดยไม่ทำความดีอะไร
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 76
มโหสถได้ฟังดังนั้นก็เบาใจ รีบปลอมตัวเป็นชาวบ้านธรรมดา แล้วเดินทางออกจากกรุงมิถิลามุ่งไปทางใต้สู่บ้านทักขิณยวมัชฌคามในทันที เพียงไม่กี่ชั่วยามเท่านั้น ข่าวที่มโหสถบัณฑิตหนีออกจากกรุงมิถิลา ก็แพร่สะพัดไปอย่างรวดเร็ว พร้อมกันนั้นก็มีเสียงโจษจันกันไปทั่วทั้งมิถิลานครว่า “บัดนี้ ท่านมโหสถบัณฑิตผู้เป็นมิ่งขวัญของชาวมิถิลานคร ได้จากพวกเราไปเสียแล้ว”
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - กรรมเครื่องแบ่งชนชั้น
พระโพธิสัตว์เห็นท่าไม่ดี จึงรีบบอกน้องชายว่า น้อง เอ๋ย นายพรานคนนี้เป็นคนกักขฬะผิดมนุษย์ทั่วไป จะต้องยิงมารดาของเราแน่นอน พี่จะสละชีวิตแทนมารดา เมื่อพี่ตายแล้ว น้องจงเลี้ยงดูมารดาแทนพี่ด้วยเถิด กล่าวจบ วานรโพธิสัตว์รีบกระโดดออกมา พลางขอร้องพรานหนุ่มว่า ขอท่านอย่าได้ยิงมารดาของเราเลย มารดาของเราตาบอด ทั้งแก่ชรามากแล้ว จงเอาชีวิตของเราแทนเถิด