สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๓ ( ปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ )
เสนกะทูลว่า " ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มโหสถยังเด็ก แม้ทุกวันนี้ปากของเธอยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม มโหสถจะรู้อะไร ฝูงนกบินไปบินมาตามต้นไม้ในป่าที่มีผลดกฉันใด ชนเป็นอันมากย่อมคบหาสมาคมผู้มั่งคั่งมีโภคทรัพย์มาก เพราะความต้องการด้วยทรัพย์ ฉันนั้น เพราะฉะนั้น คนมีสิริสมบัติเท่านั้นเป็นคนประเสริฐ "
มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - ทางมาแห่งปัญญาบารมี
จากเรื่องนี้ จะเห็นได้ว่า ขนาด พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นบรมศาสดาเอกของโลก ก็ยังทรงเคารพพระธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะความเคารพในธรรมเป็นทางมาแห่งความเจริญรุ่งเรือง ไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อม ในพระไตรปิฎกมีหลายสูตรที่พระพุทธองค์ตรัสเรื่องความเคารพไว้ ทรงสั่งสอนทั้งแก่ภิกษุภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา และเหล่าเทวดา ไม่ว่าจะเป็นการเคารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพในพระสงฆ์ เคารพในการศึกษา เคารพในสมาธิ เคารพในความไม่ประมาท และเคารพในการปฏิสันถาร
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
ใจหยุด สุดยอดปาฏิหาริย์
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ คืออิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ภิกษุนั้นแล เป็นผู้สำเร็จถึงที่สุด เป็นผู้ประเสริฐกว่าเทวดา และมนุษย์ทั้งปวง
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง บัณฑิตทราบเนื้อความนั้นตามความจริงแล้ว พึงกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
เทพบุตรมาร (๓)
ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตนี้ ซึ่งไปได้ไกล เที่ยวไปโดดเดี่ยว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย ชนเหล่านั้น จักพ้นจากบ่วงแห่งมารได้
สละชีวิตเป็นทาน (ปรมัตถบารมี)
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต ทุกคนพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตไม่อาจรู้ว่า
ปัจเจกพุทธภูมิ
ผู้หยั่งลงในความเพียรในกาลก่อนย่อมมีอานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือ ๑.ทำให้ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ๒.ถ้ายังไม่ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ย่อมให้บรรลุพระอรหัตตผลในเวลาใกล้จะตาย ๓.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตตผล ๔.ถ้าไม่อย่างนั้น จะเป็นขิปปาภิญญาตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๕.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น ในภพสุดท้ายจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้