ว.วชิรเมธีผู้ติดปีกให้ธรรม
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - สอนตน สอนคนให้ถึงธรรม
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมด้วยอาการ ๓ อย่างด้วยกัน คือ ประการแรก ทรงสอนให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในสิ่งที่ควรรู้ควรเห็น ประการที่สอง ทรงแสดงธรรมมีเหตุที่ผู้ฟังจะสามารถตรองตามให้เห็นจริงตามที่พระองค์ทรง แสดงได้ และประการสุดท้าย ทรงแสดงธรรมเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบัติตามธรรมนั้นจะได้รับประโยชน์ตามสมควรแก่การปฏิบัติ
ความในใจของพระครูสุมณฑ์ธรรมวงศ์
การที่หลวงพ่อมีวิสัยทัศน์ที่จะรวมสงฆ์จากทั่วโลก แล้วร่วมมือกันในการขยายพระพุทธศาสนาไปทั่วโลก เป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยมมาก เพราะชาวพุทธจะต้องสามัคคีกัน ปัจจุบันต้องยอมรับว่า การตื่นตัวของชาวพุทธและความหวงแหนในพระพุทธศาสนามีน้อย เพราะเราขาดการศึกษาสิ่งดีๆที่เรามีอยู่อย่างจริงจัง บางครั้งเรากลับเห็นคุณค่าของศาสนาเราเอง ด้วยการเรียนรู้มาจากเพื่อนต่างศาสนา
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
โครงการอบรมมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 21
โครงการอบรมมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 21 อบรมระหว่างวันที่ 13 เมษายน – 4 พฤษภาคม พ.ศ.2557 สอบถามรายละเอียดได้ที่ กองสนับสนุนอาสาสมัคร สำนักศรัทธาภิบาล โทร.081-454-0680 และ 083-540-5780
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
ตู้ปันสุข ขนไปหมดตู้ ผู้ให้ควรคิดอย่างไร
ตู้ปันสุข ขนไปหมดตู้ เมื่อเจอเหตุการณ์อย่างนี้ ผู้ให้ควรคิดอย่างไร หรือวางใจอย่างไร
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
อิทธิบาทสี่ ชี้ทางสู่นิพพาน
ขอท่านจงตื่นขึ้นเถิด อย่าให้มัจจุราชผู้เป็นพวกพ้องของคนประมาท ชนะท่านผู้เกียจคร้านด้วยอุบายอันโกงเลย กำลังคลื่นแห่งมหาสมุทร ย่อมครอบงำบุรุษผู้ไม่อาจข้ามมหาสมุทรนั้นได้ แม้ฉันใด ชาติและชรา ย่อมครอบงำท่าน ผู้ถูกความเกียจคร้านครอบงำแล้ว ฉันนั้น ขอท่านจงทำเกาะ คืออรหัตผลแก่ตนเถิด เพราะที่พึ่งอย่างอื่นในโลกนี้และโลกหน้า ย่อมไม่มีแก่ท่าน
พระโปฐิลเถระ
การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า การศึกษาคันถธุระ ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นไป และความเสื่อมไปในอัตภาพ เจริญวิปัสสนาด้วยอำนาจความเพียรพยายามแล้ว บรรลุพระอรหัต ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ