ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 9
การครองเรือนก็เป็นทุกข์อย่างนี้ เมื่อยังไม่มีลูกก็เป็นทุกข์เพราะอยากจะมีลูก แม้รู้ว่าจะต้องเสี่ยงเป็นเสี่ยงตายในการให้กำเนิดบุตรก็ยอม เมื่อมีลูกแล้วก็เป็นทุกข์อีก เพราะจะต้องดูแลรับผิดชอบเลี้ยงดู ต้องให้การศึกษาอีกมากมาย ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าลูกไปคบเพื่อนซึ่งเป็นคนพาล เขาชวนไปประพฤติผิดศีลผิดธรรม ไปติดอบายมุข ไม่สนใจการศึกษาเล่าเรียน กลายเป็นคนเกะกะเกเร ไม่เป็นอย่างที่ใจหวังก็ยิ่งทุกข์หนักขึ้นไปอีก
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - กาลเวลากับการเปลี่ยนแแปลง
เวลา ๑๐๐ ปีในโลกมนุษย์ เท่ากับชั่วครู่เดียวในสวรรค์เท่านั้นเอง ซึ่งไม่เพียงพอต่อการทำความดี ดังนั้นเราจึงไม่ควรประมาทในวัยและชีวิต จำเป็นที่จะต้องหมั่นประกอบความดี สร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้ ข้ออ้าง และเงื่อนไข เพื่อจะได้ดำเนินชีวิตไม่ผิดพลาด รีบสั่งสมบุญติดตัวไปข้ามภพข้ามชาติ เพราะบุญเป็นเพื่อนแท้ในการเดินทางไกลในสัมปรายภพ
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาปราสาท)
พระเจ้ามหาปนาทนั้นมีปราสาทล้วนแล้วไปด้วยทอง กว้าง ๑๖ ชั่วธนูตก สูง ๑ พันชั่วธนู และปราสาทนั้นมีพื้น ๗ ชั้น ประกอบไปด้วยธง สำเร็จด้วยแก้วมีสีเขียว มีนางฟ้อน ๖ พัน แบ่งออกเป็น ๗ พวก ฟ้อนรำอยู่ในปราสาทนั้น
สังเกตคนดีที่ความประพฤติ
บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป (คือ อายตนนิพพาน) ต้องตามรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองภาชนะน้ำมันที่เต็มเสมอขอบปากที่ไม่พร่องไว้ฉะนั้น
พระพาหิยทารุจิริยเถระ
กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละไปตามลำดับ บุคคลเมื่อเห็นมรณภัยแล้ว พึงละอามิสในโลกเสีย มุ่งสู่สันติเถิด”
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เวลา 10.00 น.