เติมบุญหนุนรัก
ความสว่างค่อยๆปรากฏ เหมือนแสงที่ส่องทแยงลอดช่องหน้าต่างของห้องที่ปิดสนิท เมื่อมองแสงนั้นนิ่งๆต่อไป แสงก็ขยายเป็นรูปร่างทรงกลม แล้วก็มีองค์พระผุดขึ้นมาจากศูนย์กลางกาย เป็นองค์พระองค์เล็กๆ ที่ใสมากๆ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
พิธีปลงผมธรรมทายาทรุ่นอุดมศึกษา
ธรรมทายาทรุ่นอุดมศึกษา ภาคฤดูร้อน รุ่นที่ 37 ได้เข้าพิธีปลงผม ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
กิจกรรมปิดเทอม โครงการบรรพชาสามเณร
บิดา มารดาหลาย ๆ ท่าน ได้มองหากิจกรรมต่าง ๆ ให้บุตรหลานของตนได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในการใช้เวลาว่างช่วงวันหยุดยาวนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งอีกกิจกรรมหนึ่งที่เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้เข้าร่วมเพื่อปลูกฝังศีลธรรม วัฒนธรรมชาวพุทธที่ดีงาม คือการได้ส่งกุลบุตร เข้าร่วมโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน
เกราะที่จะคุ้มครองตัวได้ดีที่สุด
ความนิ่งและความสบาย แสงสว่างที่ลูกเห็น ทำให้ลูกรู้สึกว่า ที่ศูนย์กลางกาย ที่นี่ คือ หลุมหลบภัยของลูก เป็นที่ๆลูกวางได้หมด เป็นที่ที่ปลอดภัยที่สุด ที่นี่สอนให้ลูกนิ่งได้ในทุกอิริยาบถ ลูกสามารถทำสมาธิได้ในทุกที่ แค่เราเอาใจมาไว้ที่ศูนย์กลางกาย ลูกว่ามันเป็นเคล็ดลับที่วิเศษมาก
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๒)
เรือที่แล่นออกสู่ทะเลมหาสมุทร เมื่อมีมรสุมต้องรีบหามุมหลบก่อน ครั้นมรสุมสงบ จึงแล่นเรือต่อไป พวกเราก็เช่นเดียวกัน หากชีวิตกำลัง
วิธีแก้กรรมให้ตนเองได้ผลดีเร็วขึ้น
วิบากกรรมของคนแต่ละคน ต่างมีวิบากกรรมต่างกันไป บางคนป่วยไม่รู้สาเหตุ นั่ง ๆ หลับ ๆ บางคนตกงานตลอด บางคนลำบากมาก บางคนลูกไม่ดี หากินไม่คล่อง
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (1)
บัณฑิตทราบอำนาจเนื้อความนี้ว่า บุตรทั้งหลาย ย่อมไม่มีเพื่อต้านทาน บิดา และพวกพ้องทั้งหลาย ก็ไม่มีเพื่ออันต้านทาน เมื่อบุคคล ถูกความตายครอบงำแล้ว ความต้านทานในญาติทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้แล้ว เป็นผู้สำรวมในศีล พึงชำระทางเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน ให้หมดจดโดยพลันทีเดียว
วัดไร่ขิง
วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ พื้นที่แต่ก่อนเป็นไร่ขิงของชาวจีน เมื่อวัดเกิดขึ้นจึงเรียกชื่อวัดตามกลุ่มชุมชนว่า "วัดไร่ขิง" ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิงติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ