ตักบาตรพระ 1,543 รูป ทำบุญเมืองสารภี ครบ 125 ปี
ตักบาตรพระ 1,543 รูป ถวายเป็นพุทธบูชา ทำบุญเมืองสารภี ครบ 125 ปี วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557 เวลา 06: 00 น. ณ ถนนเชียงใหม่ - ลำพูน หน้าที่ว่าการอำเภอสารภี ถึงวัดแสนหลวง จ.เชียงใหม่ สอบถามรายละเอียดโทร. 081-883-5112 , 084-080-3275
ธุดงค์ธรรมชัยรุ่นแสนรูป ตอนที่ 1
ธุดงค์ เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบาย ไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉะนั้น
ของจริงต้องคู่กับคนจริงนั้นเป็นอย่างไร
ข้อความที่ว่า “ของจริงต้องคู่กับคนจริง” นั้นเป็นอย่างไร? ทำไมบางคนเข้าวัดปฏิบัติธรรม สวดมนต์นั่งสมาธิไม่เคยขาด แต่ยังไม่เข้าถึงพระธรรมกายบางคนกว่าจะชวนเข้าวัดได้ก็แสนยาก แต่พอมานั่งสมาธิกลับเข้าถึงพระธรรมกายได้ง่าย ๆ
กฐินสามัคคี 36 วัด ลำพูน - เชียงใหม่
มหากุศลครั้งยิ่งใหญ่ ทอดกฐินสามัคคี 36 วัด จังหวัดลำพูน – จังหวัดเชียงใหม่ เรียนเชิญผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมทอดกฐินสามัคคี รวม 36 วัด วันจันทร์ที่ 1 – วันเสาร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 (5 วัน 6 คืน)
ครูดีศรีลำพูน
ผมได้มาบวชในโครงการอุปสมบทหมู่ครูผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก(ครูพระ)รุ่นแรกของโลก ปัจจุบันครอบครัวของผมได้พร้อมใจกันสวดมนต์ทำวัตรเช้าเย็นดู DMC ด้วยกัน เป็นครอบครัวที่มีความสุข และมีเป้าหมายของชีวิต
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
จังหวัดลำพูน จัดตักบาตรพระ 10,000 รูป
จังหวัดลำพูน จัดตักบาตรพระ 10,000 รูป เพื่อฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และรวมพลังชาวพุทธช่วยเหลือพระภิกษุ สามเณร 323 วัด ใน 4 จังหวัดภาคใต้
รายการกฎแห่งกรรมและธรรมเพื่อประชาชนที่ออกอากาศทางวิทยุ ทั่วประเทศ
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 1
“ ธุดงค์ ” แปลว่า...องค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส หมายถึง ข้อวัตรปฏิบัติที่มีความเข้มงวดเป็นพิเศษ ที่จะช่วยกำจัดกิเลสให้หลุดร่อนออกไปจากใจได้อย่างดีเยี่ยม
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ