นร.นับสิบชักดิ้น บวงสรวงเทพ!
ธรรมกายมีลักษณะอย่างไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ธรรมกายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษครบครั้น ใสเป็นแก้วอยู่ในศูนย์กลางกาย มีลักษณะกายเนื้อของเจ้าชายสิทธัตถะทุกประการ แต่เป็นกายละเอียด
ประวัติย่อพระพุทธเจ้า 28 พระองค์
ประวัติย่อพระพุทธเจ้า พระพุทธประวัติ พระพุทธเจ้า 28 พระองค์
เส้นทางสู่ความเป็นพุทธะ_1
ธรรมดาของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แม้รู้ว่าสกลจักรวาลทั้งสิ้น เต็มด้วยถ่านเพลิงซึ่งปราศจากเปลว เกลื่อนกล่นด้วยหอก และหลาว ดารดาษไปด้วยหนามแหลม หรือเต็มด้วยน้ำปริ่มฝั่งแล้ว หากสามารถก้าวข้ามได้ จะได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ตัดสินใจที่จะทอดเท้าก้าวข้ามไป เพื่อให้ได้มาซึ่งสัพพัญญุตญาณอันประเสริฐ
รณรงค์รับโทร.-ใช้สวัสดีแทนฮัลโหล
อรูปภพ
คำว่าอรูปพรหม ไม่ได้หมายความว่า พรหมผู้ไม่มีรูปร่าง ท่านมีรูปกาย มีความสวยงามยิ่งกว่าพรหมในรูปภพเสียอีก ท่านสง่างามกว่า และประณีตกว่า เพราะท่านได้กายที่ใกล้เคียงลักษณะมหาบุรุษเข้าไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกายที่สมบูรณ์แบบที่สุด ถ้าสูงขึ้นไปจากอรูปภพก็จะเป็นอายตนนิพพาน เหมือนคำว่าอมนุษย์ ไม่ได้หมายว่าไม่มีมนุษย์ เพียงแต่ว่าไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง อรูปพรหมก็ไม่ได้หมายความว่าไม่มีรูปพรหม แต่แปลว่า ไม่ใช่รูปพรหม
พระวนวัจฉะผู้อยู่ในป่า
ความเสวยอารมณ์เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เช่นเป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี เมื่อเบื่อหน่ายในความเสวยอารมณ์นั้น ย่อมคลายความกำหนัด เมื่อคลายความกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พระอริยสาวกย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจอื่นที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีกต่อไป
พระสุภูติเถระ
ท่านจงเจริญพุทธานุสติอันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ครั้นเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังมนัสให้บริบูรณ์ จักรื่นรมย์ในเทวโลกตลอดสามหมื่นกัป จักได้เป็นจอมแห่งเทวดาเสวยเทวสมบัติถึง ๘๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ อยู่ในแว่นแคว้น ๑,๐๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ จักได้เสวยสมบัตินั้นทั้งหมด นี้เป็นผลแห่งการเจริญพุทธานุสติ
ผู้ถึงความพินาศ
ผู้ใดเมื่อบุคคลกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นั้นย่อมถึงความพินาศ ย่อมเศร้าโศกเหมือนกาที่ไม่เชื่อฟังคำของนกพิราบ ตกอยู่ในเงื้อมมือของศัตรู
พรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้