อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
อานิสงส์การจุดประทีปถวายเป็นพุทธบูชา
การบูชา คือ การแสดงออกในลักษณะของความเลื่อมใสศรัทธา มีการยกย่องเชิดชูทั้งทางกาย วาจา และใจ ด้วยความนอบน้อมทั้งต่อหน้าและลับหลัง การแสดงต่อหน้าเป็นการแสดงออกถึงความเคารพและตระหนักในคุณธรรมความดีของบุคคลที่เราบูชา อย่างจริงใจ
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกบัว
ท่านสาธุชนยอดนักสร้างบารมีผู้มีบุญทั้งหลาย เราเกิดมาภพชาติหนึ่งได้มาทำความดีในมนุษยโลก มาพบพระพุทธศาสนา และตัวเราก็เป็นสัมมาทิฐิบุคคล นับว่าเป็นสิ่งที่ได้มายากแสนยาก เพราะนี่คือคุณสมบัติของผู้มีบุญที่จะใช้โอกาสที่ดีเช่นนี้สร้างบารมีตักตวงบุญกุศลได้เต็มที่
14 ปี วารสารอยู่ในบุญ ร่วมจารึกชื่อฉบับ ม.ค. - ธ.ค. 2559
14 ปี วารสารอยู่ในบุญ ร่วมจารึกชื่อฉบับ ม.ค. - ธ.ค. ตลอดปี พ.ศ. 2559 หมดเขตส่งรายชื่อ 31 ธันวาคม ฑ.ศ. 2558 สอบถามรายละเอียด 086-771-2268
ปวารณา มีความหมายว่าอย่างไร
ปวารณา (อ่านว่า ปะ-วา-ระ-นา) มีความหมาย ๒ อย่างคือ......
อานิสงส์การให้ทาน
ในสมัยพระปทุมุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ามีชาวนาผู้ใจบุญท่านหนึ่ง ได้ฟังธรรมจากพระบรมศาสดาแล้ว ก็อยากถวายข้าวสารใหม่ที่ตัวเองลงมือเก็บเกี่ยวกับมือแด่พระพุทธองค์พระองค์ทรงทราบความตั้งใจดีของชาวนาแล้วจึงตรัสสัมโมทนียกถาเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาว่า “ชื่อว่าสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง มีปัญญาและศีลมีจิตมั่นคง ทานที่ถวายในสงฆ์ย่อมมีผลมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
ประมวลภาพตักบาตรพระ 10,000 รูป ณ ถนนเอกชัย จ.สมุทรสาคร
ประมวลภาพ ตักบาตรพระ 10,000 รูป จาก 9 จังหวัด ณ ถนนเอกชัย หน้าห้องสมุดมีชีวิต ถึง หน้าสนามกีฬาจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และช่วยเหลือคณะสงฆ์ 323 วัดใน 4 จังหวัดชายแดนใต้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
เสียงรอสาย...สัมมาอะระหัง....(เฉพาะระบบ Dtac)
วิธีการสมัครบริการเพลงรอสาย กรณีที่ยังไม่ได้สมัครบริการเพลงรอสายโทร *119 กด 1 ค่าสมัครบริการ: ขึ้นอยู่กับแพ็กเก็จที่สมัคร