มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ขยันถูกเวลานำพาสู่ความสำเร็จ
วันเวลาที่ผ่านไป ได้นำเอาความชรามาสู่เรา ชีวิตมนุษย์มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และในที่สุดก็เสื่อมสลายไป สิ่งต่างๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็นบุตร ธิดา ทรัพย์สินเงินทอง ญาติพี่น้อง ล้วนไม่อาจติดตามเราไปสู่ปรโลกได้ มีแต่กุศลผลบุญที่เราสั่งสมไว้ดีแล้วเท่านั้น ที่จะเป็นดังเงาติดตามตัวเราไป ดังนั้นเราทั้งหลาย ต้องตระหนักและแสวงหาหลักของชีวิต ด้วยการสั่งสมบุญบารมีให้เต็มที่ เพราะโอกาสนี้เป็นโอกาสที่ดีที่สุดของพวกเราที่ได้เกิดเป็นมนุษย์
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๙)
พระเจ้าอังคติราชสดับเช่นนั้นแล้ว เกิดความสลดสังเวช กลัวที่จะต้องไปบังเกิดในมหานรก จึงตรัสว่า "บัด นี้ ข้าพเจ้าแทบจะล้มเหมือนต้นไม้ที่ถูกตัด ข้าพเจ้าหลงผิดจึงไม่รู้จักทิศ ท่านฤๅษี ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เสมือนกับน้ำดื่มแก้กระหายในเวลากระหายน้ำ ขอท่านจงเป็นเหมือนเกาะเป็นที่อาศัยในห้วงมหาสมุทร และขอท่านจงเป็นเหมือนประทีปส่องสว่างในที่มืดของข้าพเจ้าด้วยเถิด
พระศรีอริยเมตไตรย์
พระศรีอริยเมตไตรย์ พระองค์ คือ บุคคลที่จะมาบังเกิดเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป และยังถือเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้อีกด้วย
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - ศิษย์คิดล้างครู
มุสิละกราบทูลว่า ตนมีความสามารถพอๆ กับอาจารย์ จึงไม่ขอรับเงินเดือนที่ต่ำกว่าอาจารย์ ขอให้พระองค์พระราชทานเท่ากับอาจารย์เถิด พระราชาตรัสว่า เจ้าอย่าพูดอย่างนั้น ธรรมดาอาจารย์ต้องได้รับมากกว่าศิษย์ มุสิละก็ ไม่ยอม จากนั้นก็ออกไปประกาศให้มหาชนไปเป็นสักขีพยาน ในการประลองฝีมือการดีดพิณระหว่างตนกับอาจารย์
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 21
กุมาริกาได้กล่าวเตือนพระสติพระมหาสัตว์ต่อไปว่า “ธรรมดาสมณะทั้งหลาย ย่อมไม่พาสตรีเที่ยวไป แต่ทำไมท่านจึงพาภรรยาซึ่งมีรูปงามดุจเทพอัปสรเที่ยวไปด้วยเล่า ภรรยาจะทำให้สมณธรรมของท่านมัวหมอง ท่านจงยินดีในการอยู่คนเดียวเถิด”
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมอยู่ที่ไหน
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสรรเสริญขันติธรรมว่าเป็นเลิศ เป็นหลักเป็นประธานที่ทำให้เกิดคุณ คือ ศีล สมาธิ กุศลธรรมทุกอย่างจะเจริญขึ้นมาได้ ก็เพราะอาศัยขันติเป็นพื้นฐาน ผู้มีขันติธรรมอยู่ในใจ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ย่างขึ้นสู่หนทางสวรรค์และนิพพานโดยแท้ พระพุทธองค์ยังทรงสรรเสริญอีกว่า "ยกเว้นปัญญาแล้ว เราตถาคตสรรเสริญว่า ขันติเป็นเลิศ" เพราะฉะนั้น ขันติบารมีจึงเป็นบารมีที่เราจะต้องสั่งสมไว้ให้มาก ให้ติดตามตัวเราไปทุกภพทุกชาติ
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 8
พระมหาชนกตรัสว่า “ท่านพูดอะไรอย่างนั้น เราทำความพยายาม แม้จะตายก็พ้นคำครหา บุคคลเมื่อกระทำความเพียร แม้จะตายก็ได้ชื่อว่า ไม่เป็นหนี้ในระหว่างหมู่ญาติ กับทั้งบิดามารดาและเทวดา อนึ่ง บุคคลเมื่อทำกิจอย่างลูกผู้ชาย ย่อมไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง ดูก่อนเทพธิดา บุคคลเมื่อทำความเพียร แม้จะตายก็ไม่เป็นหนี้ ย่อมไม่ถูกติเตียนในระหว่างหมู่ญาติ แม้เทวดาและพรหมก็สรรเสริญ”
การตาย 4 ประเภท เหตุให้เกิดความตาย 4 ประการ
เหตุให้ความตายเกิดมี 4 ประการ การตายมีด้วยกัน 4 ประเภท สิ้นอายุ สิ้นกรรม สิ้นทั้งสอง กรรมตัดรอน ตายแล้วไปไหนจะรู้ได้อย่างไร เลือกได้อย่างไร
แสวงหาทางพ้นทุกข์ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน