ธุดงคสถานชัยบาดาล เปิดรับสมัครบวชเรียน ฟรี
โรงเรียนเตรียมพุทธศาสตร์ ธุดงคสถานชัยบาดาล เปิดรับสมัครบวชเรียน ฟรี!! ไม่เสียค่ายใช้จ่าย สนใจสมัครบวชเรียน โทร. 080-263-5117 หรือ 092-219-4242
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ จัดบวชเฉลิมพระเกียรติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ ได้จัดพิธีบรรพชาอุปสมบท และบวชเนกขัมมศีลจาริณี เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 86 พรรษา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2556
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
โครงการพิเศษ-บรรพชาอุปสมบทหมู่พระธรรมทายาทนานาชาติ
โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่พระธรรมทายาทนานาชาติ หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า International Dhammadayada Ordination Program (IDOP) เป็นโครงการที่ทางสำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกายได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยในปี 2553 นี้เป็นปีที่ 8 แล้ว ซึ่งปกติจะจัดในช่วงปิดภาคเรียน ภาคฤดูร้อนของชาวต่างประเทศ
เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
ต้นแบบวงการผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ที่ประกาศให้ตำรวจก็มาบวชได้ โดยไม่คิดเป็นวันลา ได้เกิดขึ้นแล้วเมื่อวานนี้ ที่ สภ.(สถานีตำรวจภูธร) คลองหลวง จุดเริ่มต้นจาก ท่านสารวัตรอำนวยการ สภ.คลองหลวง พ.ต.ต.(พันตำรวจตรี) เกียรติศักดิ์ มิตรปราสาท (สารวัตรน้อย)
พิธีแต่งตั้งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร
วัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ได้จัดพิธีแต่งตั้งพระราชปริยัติเวที ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร ตามพระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช
พิธีอุปสมบท ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา อุปสมบท ปัจจุบันใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม หรือ อุปสัมปทา คู่กับคำว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็นสามเณร
กำหนดการพิธีขอขมารับบาตรและผ้าไตร 26 มิถุนายน พ.ศ.2557
กำหนดการพิธีขอขมารับบาตรและผ้าไตร วันพฤหัสบดีที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
คุณสมบัติของผู้บวชในพระพุทธศาสนา
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีโครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสที่เหล่ากุลบุตรจะได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะและปฏิบัติธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเพื่อการเป็นพุทธบริษัท ๔ ที่ดี
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ