สาลิเกทารชาดก ชาดกว่าด้วยนกแขกเต้าเลี้ยงพ่อแม่
พญานกแขกเต้าผู้มีความกตัญญูต่อบิดามารดาของตน และมีจิตเมตตา ต่อทุกสรรพชีวิตแม้แต่พราหมณ์โกสิยะเจ้าของไร่ข้าวสาลี ผู้ที่สั่งให้คนดูแลไร่ข้าวสาลี ไปจับตนมา ซึ่งต่อมาในภายหลัง พราหมณ์โกสิยะก็ได้ชื่นชมยกย่องคุณธรรมความโอบอ้อมอารี ความกตัญญู ของพญานกแขกเต้า
วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - มหาสมบัติของผู้มีบุญ
ดูเถิดว่า บุญนี่สำคัญจริงๆ มีพลานุภาพยิ่งกว่าสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น แม้พระบรมศาสดายังตรัสย้ำว่า "ใครมีบุญมาก สิ่งที่ดีมีสิริมงคลทั้งหลายจะไปอยู่กับผู้มีบุญมาก บุญจะดึงดูดสิริ ทั้งหลายมา ใครจะลักเอาไปไม่ได้ เป็นของอสาธารณะ"
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - เพียงพบเห็นก็เป็นมงคล
วันรุ่งขึ้น เขาได้จัดแจงตระเตรียมอาหารอย่างดี ไปหาพระเถระตั้งแต่เช้า และได้ยืนอยู่ในที่ท้ายสุดของหมู่ชน เขามองดูพระเถระแต่ไกล ยืนไหว้ท่านอยู่ตรงนั้น จากนั้นจึงเดินเข้าไปใกล้ท่านด้วยความปีติยินดี จับข้อเท้าของพระเถระไว้แน่น ไหว้ด้วยความนอบน้อมอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “พระคุณเจ้าสูงมากนะขอรับ”
บวชให้สุก
ผลไม้บางอย่างทานสุก บางอย่างทานดิบ ผลไม้ที่สุกแล้วมักจะส่งกลิ่นหอมและอร่อยกว่าเสมอ แล้วคนที่สุก จะเป็นอย่างไร
สาธุศีลชาดก ชาดกว่าด้วยตำราเลือกลูกเขย
เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ในเมืองตักศิลา ได้มีพราหมณ์เฒ่าผู้หนึ่ง มีลูกสาวที่งามพร้อมทั้งกาย วาจาและใจจนเป็นที่หมายปองของหนุ่มน้อยหนุ่มใหญ่สี่คนด้วยกัน
มัชฌิมาปฏิปทา เส้นทางสู่ความหลุดพ้น
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มัชฌิมาปฏิปทาที่เป็นธรรมทำให้มีดวงตา ทำให้เกิดญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การเจรจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจชอบ
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม กรรมลิขิต คนเกิดมารับกรรมจริงไหม ? กรณีศึกษาตัวอย่างของกฎแห่งกรรม ตายแล้วไปไหน ไปอย่างไร หาคำตอบได้ที่นี่ ที่เดียว
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก รวมพระประวัติ เทิดทูนและอาลัยพระชันษา 100 ปี