ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์
คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรเสพ ควรคบเป็นมิตร ความเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม 7 ประการเป็นไฉนคือ....
หนทางของพุทธะ
ดูก่อนสุเมธบัณฑิต จำเดิมแต่นี้ไป ท่านพึงบำเพ็ญทานบารมีข้อแรกให้เต็ม ธรรมดาว่า หม้อน้ำที่คว่ำแล้ว ย่อมคายน้ำออกไม่เหลือ ไม่นำกลับเข้าไปอีกฉันใด แม้ท่านเมื่อไม่เหลียวแลทรัพย์ ยศ บุตร และภริยา ให้สิ่งที่เขาต้องการอยากได้ทั้งหมดแก่ผู้ขอที่มาถึง กระทำมิให้มีส่วนเหลืออยู่ จักได้นั่งที่ควงไม้พระศรีมหาโพธิ์แล้วตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
ทิพยสถานสำหรับผู้มีบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเกิดในสวรรค์ เหมือนถูกเชิญมาเกิด ธรรม ๔ ประการคือ เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมบังเกิดในสวรรค์เหมือนถูกเชิญมาเกิด
ทำอย่างไรให้พระพุทธศาสนาเกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งในช่วงฤดูเข้าพรรษาและฤดูออกพรรษา
ชาวพุทธควรปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะทำให้พระพุทธศาสนาเกิดความเจริญรุ่งเรืองทั้งในช่วงฤดูเข้าพรรษาและฤดูออกพรรษา?
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 78 พุทธการกธรรม ธรรมสำหรับบ่มพระโพธิญาณ
พุทธการกธรรมนี้ ถือเป็นธรรมที่สำคัญอย่างยิ่ง หากพระโพธิสัตว์ปราศจากพุทธการกธรรมแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 5 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บุคคลเอก เมื่อเกิดขึ้นในโลก ย่อมเกิดขึ้นแบบไม่เป็นที่สองรองใคร ไม่มีใครเช่นกับพระองค์ ไม่มีใครเปรียบ ไม่มีส่วนเปรียบ ไม่มีใครเสมอด้วยพระพุทธเจ้า ผู้เป็นเลิศกว่าชนทั้งหลาย บุคคลเอกผู้นั้น คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า