บูชายัญ บูชายัญคืออะไร บูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
บูชายัญคืออะไร คนเราจะโชคดีจากการเข่นฆ่า ทำร้ายผู้อื่น บูชายัญได้หรือไม่ การบูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
นิทานคุณธรรม นิทานชาดก นิทานธรรมะ คลิปวิดีโอและภาพประกอบ
นิทานคุณธรรม นิทานชาดก นิทานธรรมะ พร้อมภาพประกอบ ปลูกฝังจิตสำนึกเพื่อการเรียนรู้ นิทานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เนื้อเรื่องนิทานคุณธรรม ดูการ์ตูนคุณธรรม และให้ข้อคิด ให้ความรู้คู่คุณธรรม
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๑)
ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน
ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ผู้นำฆราวาสธรรม 4 ไปใช้ จะมีความสุขความสำเร็จในชีวิต
ความอดทน
ความอดทน มาจากคำว่า ขันติ หมายถึง การรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ ไม่ว่าจะถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนาก็ตาม มีความมั่นคงหนักแน่นไม่หวั่นไหว
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม