กรรมใดขณะคุณแม่ตั้งท้องตัวลูกทำให้คุณแม่ป่วยถึง ๓ โรค
ลูกเคยเป็นโรคทาลัสซีเมียร์ มีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลียมากกว่าคนปกติ เมื่อไปหาหมอ หมอให้ยาบำรุงเลือดมาทาน และดูแลสุขภาพด้วยการไม่นอนดึก พักผ่อนให้เพียงพอ อาการก็ดีขึ้นเป็นลำดับ และหายขาดเป็นปกติจนทุกวันนี้
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
กรรมใดทำให้แม่เป็นฝีในท้อง
กรรมใดทำให้แม่ตกร่องไม้กระดาน จนหน้าท้องถูกกระแทก กลายเป็นฝีในท้อง และเดินไม่ได้ถึง ๓ ปี บุญใดทำให้คุณแม่สามารถกลับมาเดินได้อีกครั้งคะ
ภูมิของพระอนาคามี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะที่ ๓ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ มีความสิ้นไปแห่งสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่าง เป็นโอปปาติกะ ปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับมาจากโลกนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยบุคคลนี้คือ สมณะที่ ๓ ในพุทธศาสนา
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
เพราะเหตุใดจึงไม่สามารถคลอดลูกแบบธรรมชาติได้
เพราะเหตุใดลูกจึงไม่สามารถคลอดแบบธรรมชาติได้ ต้องถูกผ่าท้องคลอดลูกทั้ง ๓ คน และยังต้องถูกผ่าตัดแก้หมันอีก ๑ ครั้ง เพราะกรรมใดคะ
มนุษย์ในอุตตรกุรุทวีป
มนุษย์ชาวชมพูทวีป ย่อมประเสริฐกว่ามนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีปและทวยเทพชั้นดาวดึงส์ด้วยฐานะ ๓ อย่างคือ เป็นผู้มีความองอาจกล้าหาญ เป็นผู้มีสติ และเป็นผู้สามารถประพฤติพรหมจรรย์ได้บริสุทธิ์ในพระพุทธศาสนา
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
วัดไร่ขิง
วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ พื้นที่แต่ก่อนเป็นไร่ขิงของชาวจีน เมื่อวัดเกิดขึ้นจึงเรียกชื่อวัดตามกลุ่มชุมชนว่า "วัดไร่ขิง" ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิงติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ