หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
วัดศรีมงคลใต้
วัดศรีมงคลใต้ตั้งอยู่ติดถนนสำราญชายโขงใกล้ด่านตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดมุกดาหารได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ
พิธีบำเพ็ญกุศล พระธรรมศีลาจารย์
พระธรรมศีลาจารย์ (สุกรี สุตาคโม) อายุ 81 ปี พรรษา 61 ป.ธ.4 เจ้าอาวาสวัดหนัง ราชวรวิหาร มรณภาพ
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๖)
ธรรมดาพวกมนุษย์ ย่อมไปสู่สำนักของพวกมนุษย์ พวกโคก็ไปสู่ฝูงโค บรรพชิตก็ไปสู่สำนักของบรรพชิต บัณฑิตก็เข้าไปหาพวกบัณฑิต
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๖ (ขอลาบวช)
ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมต้านทานไม่ได้ ผู้เห็นภัยในความตายนี้มุ่งต่อสันติ พึงละโลกามิสเสีย
ศาสดาเอกของโลก (๖)
มี..อานุภาพเป็นอจินไตย ยิ่งใหญ่กว่าผู้มีรู้มีญาณจะคาดคะเนได้ ผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับท่าน จะเกิดความซาบซึ้งในพระคุณอันไม่
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
พุทธชิโนรส (๖)
ดูก่อนมารผู้กระทำซึ่งที่สุด ตัวท่านเป็นผู้ที่เรากำจัดเสียแล้ว ชนเหล่าใดสำรวมดีแล้ว ด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ชนเหล่านั้น ไม่เดินตามหลังมาร
เส้นทางจอมปราชญ์ (๖)
เมื่อพระตถาคตจะยังทรงพระชนม์อยู่ หรือเสด็จปรินิพพานไปแล้วก็ตาม เมื่อจิตสม่ำเสมอผลก็ย่อมสม่ำเสมอ เพราะเหตุที่ตั้งจิตไว้ชอบธรรม สัตว์ทั้งหลายย่อมไปสู่สุคติ ทายกทั้งหลายได้กระทำสักการบูชาในพระตถาคตเหล่าใดไว้แล้วย่อมไปสู่สวรรค์ พระตถาคตเหล่านั้นย่อมเสด็จอุบัติขึ้นเพื่อประโยชน์แก่ชนเป็นอันมากหนอ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู