หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
บวชสามเณรล้านรูป พร้อมคำอธิษฐานจิตเสียงหลวงพ่อ
สัมมนาวิชาการธรรมธารา เรื่อง วัคซีนชาวพุทธไทย
สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย จัดสัมมนาวิชาการธรรมธารา ในหัวข้อวัคซีนชาวพุทธไทย
วุฒิธรรม (คุณธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม)
วุฒิธรรม หรือ วุฒิ 4 ธรรมหมวดนี้ ในบาลี เรียกว่า ธรรมที่เป็นไปเพื่อปัญญาวุฒิ (ปัญญาวุฒิธรรม) คือ เพื่อความเจริญงอกงามแห่งปัญญา
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงปี 54
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ในระดับชั้นเปรียญธรรม 7 ประโยค ถึง 9 ประโยค ซึ่งในปีนี้มีพระภิกษุ สามเณร สอบผ่านเปรียญธรรม 9 ประโยคจำนวน 60 รูป
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
วัดพระธรรมกายฟลอริดา จัดงานบุญ 140 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร
วัดพระธรรมกายฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญเนื่องในวาระวันคล้ายวันเกิดด้วยรูปกายเนื้อครบรอบ 140 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - พรรษาแห่งการบรรลุธรรม
แม้ดวงตาภายนอกจะมืดบอด แต่ตาภายใน คือ ธรรมจักษุของท่านนั้น สว่างไสวยิ่งกว่าดวงอาทิตย์ยามเที่ยงวัน เป็นแสงสว่างที่นำมาซึ่งความสุข ความบริสุทธิ์ และความรู้แจ้งในธรรมทั้งหลาย แทงตลอดในนิพพาน ภพสาม โลกันตร์ อีกทั้งในพรรษานั้น ท่านยังได้สั่งสอนลูกศิษย์และพุทธบริษัทให้ได้บรรลุธรรมกันมากมาย
เล่าเรื่อง พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ (8)
พระเดชพระคุณพระวิสุทธิวงศาจารย์ เป็นรองเจ้าอาวาสวัดปากน้ำภาษีเจริญ เจ้าคณะภาค7 รองแม่กองบาลี กรรมการมหาเถรสมาคม พระอาจารย์ใหญ่โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดปากน้ำภาษีเจริญ และพระอาจารย์ใหญ่ของคุณครูไม่ใหญ่ ท่านเป็นผู้ที่อยู่ในยุคสมัยของพระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำฯ วันนี้ท่านจะได้มีเรื่องราวในสมัยของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ มาเล่าสู่กันฟัง
การดำรงอยู่ได้นานแห่งพระสัทธรรม (๑)
ความเสื่อมของมนตราอยู่ที่การไม่ทบทวน ความเสื่อมของเรือนอยู่ที่การไม่ซ่อมแซม ความเสื่อมของใจอยู่ที่การไม่ฝึกฝน เมื่อใจของเราเสื่อม ความคิด