ความรู้พื้นฐานที่นำไปสู่ความเข้าใจของการเกิดโรค ตอนที่ 2
ในการควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ เส้นประสาทแต่ละคู่จะมีการแบ่งหน้าที่ เป็น 3 หน้าที่ และอวัยวะแต่ละแห่งจะถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
ชาวพุทธในยุคปัจจุบันของบังคลาเทศ
ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญคือ ชาวพุทธต้องเป็นชาวพุทธที่แท้จริง มีความรู้ความเข้าใจในคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง โดยต้องศึกษาทั้งปริยัติ และปฏิบัติ เพื่อให้เกิดปฏิเวธ และปัจจัยที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่งก็คือ ชาวพุทธจะต้องมีความสามัคคีกัน เว้นจากการให้ร้ายกัน พระพุทธศาสนาจึงจะมั่นคงอยู่ได้อย่างแท้จริง
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
น ปเรสํ วิโลมานิ น เปรสํ กตากตํ อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย กตานิ อกตานิ จ ไม่ควรใส่ใจคำ แสลงหูของผู้อื่น ไม่ควรแส่มองธุระที่เขาทำ และยังไม่ทำ ควรตั้งใจตรวจตราหน้าที่ของตนนี้แหละ ทั้งที่ทำ แล้วและยังไม่กระทำ
ผู้มีความเที่ยงธรรม
ผู้ไม่คดโกง ไม่พูดเพ้อ มีปรีชาสามารถ ไม่เย่อหยิ่ง มีใจมั่นคง ย่อมงดงามในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว
ทำเพราะเป็นหน้าที่
คำถาม : สามีเป็นนักการเมืองในระดับจังหวัด มีโอกาสจัดกิจกรรม ทางพระพุทธศาสนาตลอดทั้งปี แต่ก็ทำเพียงเพราะเป็นหน้าที่ สามีจะได้รับผลบุญนี้ไหมคะ
สัญญาแห่งความเลื่อมใส
ท่านจงเจริญพุทธานุสติ อันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ท่านเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังใจให้เต็มได้
อยู่กับคนที่เขาไม่ชอบเราต้องทำตัวอย่างไร
คำถาม : การอยู่กับคนที่เขาไม่ชอบเรา ต้องทำตัวอย่างไรครับ ?
ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
ศีล ในทางปฏิบัติหมายถึงการงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา กล่าวคือการไม่ทำผิดไม่พูดผิดนั่นเองจัดเป็นศีล ซึ่งจัดเป็นคุณธรรม ที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
พระราชดำรัสอำนวยพรเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2560
ในปีใหม่นี้ ขอให้ชาวไทยทุกคนตั้งใจให้แน่วแน่ที่จะรักษาคุณสมบัตินี้ให้เหนียวแน่น และทำความคิด จิตใจ ให้แจ่มใส ด้วยปัญญาที่กระจ่าง พิจารณาทุกสิ่งที่เกิดมีขึ้นตามความเป็นจริง โดยปราศจากอคติ ให้มีความมุ่งมั่น มีกำลังใจ ในอันที่จะร่วมกันปฏิบัติสรรพกิจน้อยใหญ่ในภาระ หน้าที่ ตามแนวพระบรมราโชบายที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานไว้
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่