มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้มีชัยชนะที่ไม่กลับแพ้
เมื่อพวกอำมาตย์กราบทูลให้เสด็จกลับ พระเจ้าพรหมทัตจึงตรัสว่า “ท่านทั้งหลาย เราไม่ใช่พระราชาแล้ว เราชื่อว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า” แล้วทรงเอาพระหัตถ์เบื้องขวาลูบพระเศียร ทันใดนั้นเอง เพศคฤหัสถ์ก็อันตรธานไป เพศบรรพชิตเกิดขึ้นมาแทนที่ ทรงเหาะขึ้นไปสู่ท้องฟ้า ประทับนั่งบนดอกปทุม
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 2 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ภูเขาเวปุลละสูงตระหง่านเป็นเยี่ยมกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในกรุงราชคฤห์ เสตบรรพตเป็นเลิศกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในป่าหิมวันต์ ดวงสุริยาเป็นเลิศกว่าบรรดาสิ่งที่ไปในอากาศ มหาสมุทรเป็นเลิศกว่าห้วงน้ำทั้งหลาย ดวงจันทราเป็นเลิศกว่าดาราทั้งหมด ส่วนพระพุทธเจ้าเป็นเลิศกว่าประชุมชนทั้งโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
มีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา
ชัยชนะครั้งที่ ๕ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เป็นอานุภาพที่ไม่มีประมาณ เพราะเป็นอจินไตยอยู่เหนือวิสัยของผู้ที่ใจยังไม่หยุด จะเข้าใจได้ด้วยการนึกคิดด้นเดา
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๒ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
อายตนนิพพานเป็นธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีใจหยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าใจได้แจ่มแจ้ง ปัจจุบันแม้หลายท่านจะมีความเห็น